แรกเกิด – 12 เดือน

ในวัย “แรกเกิด – 12 เดือน” เป็นวัยแรกที่ลูกน้อยจะต้องได้รับการดูแลอย่างใกล้ชิด มีสิ่งใดที่คุณพ่อคุณแม่ต้องเน้นในการดูแลเขา ก็จะได้รู้กันในพื้นที่ตรงนี้

ลูกเป็นคนเพศกำกวม

นี่คือสิ่งที่ต้องรู้กับการมีลูกเป็น “คนเพศกำกวม”

by

นี่คือสิ่งที่ต้องรู้กับการมีลูกเป็น “คนเพศกำกวม” อาจเป็นเรื่องน่ากลัวสำหรับพ่อแม่มือใหม่ที่จะได้ยินสิ่งที่ไม่คาดคิดจากแพทย์เมื่อลูกเกิด แต่ลักษณะทางเพศเกิดขึ้นตามธรรมชาติ และไม่ใช่โรคหรือภาวะที่ส่งผลต่อสุขภาพร่างกายของทารก เมื่อทารกเกิดมา พวกเขาจะถูกกำหนดเพศทางชีววิทยา ไม่ว่าจะเป็นชายหรือหญิง โดยพิจารณาจากอวัยวะเพศของพวกเขา คุณอาจได้รู้ถึงเพศของทารกก่อนคลอดในลักษณะเดียวกัน ถ้าไม่มีอะไรโผล่มาที่ระหว่างขา ‘ยินดีด้วย คุณได้ลูกสาวจ้า’ แต่จริง ๆ แล้วมันอาจจะซับซ้อนกว่านั้นเล็กน้อย บางครั้ง ทารกอาจมีอวัยวะเพศที่มีลักษณะเฉพาะของเพศชายและลักษณะเฉพาะของเพศหญิง และลึกกว่ารูปลักษณ์ภายนอก บางคนเกิดมาพร้อมกับลักษณะทางชีววิทยาของเพศชายและเพศหญิง (เช่น มดลูกและอัณฑะ) ที่ไม่สามารถมองเห็นได้จากภายนอก เมื่อบุคคลไม่ตรงกับการกำหนดเพศ…

ประเภทของอึลูก

เรียนรู้ “อึลูก” ทั้ง 12 แบบ และความหมายของมัน

by

เรียนรู้ “อึลูก” ทั้ง 12 แบบ และความหมายของมัน อาจไม่มีช่วงเวลาอื่นใดอีกแล้วในชีวิตที่คุณจะหมกมุ่นอยู่กับ “อึลูก” มากไปกว่าตอนที่คุณเป็นพ่อแม่มือใหม่ พ่อแม่มือใหม่มักใช้เวลาดู พูดคุย และทำความสะอาดอุจจาระเป็นจำนวนมาก นั่นเป็นเพราะว่าทารกจะอึโดยเฉลี่ยวันละ 2-3 สามครั้งในปีแรกของชีวิต นั่นก็ปาเข้าไปเกือบ 1,000 ครั้งแล้ว ต่อไปนี้คือข้อมูลเกี่ยวกับอึของทารกทั้ง 12 ชนิดและความหมายของพวกมัน 1. ขี้เทา นี่เป็นอึแบบแรกที่ลูกของคุณจะมี…

เคล็ดลับดูแลผิวของลูกน้อย

7 เคล็ดลับที่มีประสิทธิภาพและมีประโยชน์ในการ “ดูแลผิวของลูกน้อย” ให้แข็งแรง

by

7 เคล็ดลับที่มีประสิทธิภาพและมีประโยชน์ในการ “ดูแลผิวของลูกน้อย” ให้แข็งแรง ผิวของทารกบอบบาง ดังนั้น ในการ “ดูแลผิวของลูกน้อย” คุณจึงไม่สามารถใช้ผลิตภัณฑ์เดียวกันกับที่คุณใช้สำหรับตัวคุณเองได้ ผลิตภัณฑ์ที่คุณใช้สำหรับลูกน้อยควรปราศจากสารเคมี อ่อนโยนต่อผิว และเป็นธรรมชาติ ทารกโดยเฉพาะทารกแรกเกิดยังคงต้องปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่เลวร้าย ดังนั้น ผิวของพวกเขาจึงบอบบางเป็นพิเศษและตอบสนองต่อความรู้สึกไม่สบายแม้เพียงเล็กน้อยได้ง่าย ตัวอย่างเช่น พวกเขาสามารถพัฒนาผื่นหรือสิวจากสารระคายเคือง เช่น สบู่ แชมพู และผ้าอ้อม ดังนั้น จึงต้องมีการดูแลผิวเป็นพิเศษ เนื่องจากผิวของพวกเขาบอบบางและเปราะบางกว่ามาก…

ทำไมทารกกำหมัด

ทำไม “ทารกกำหมัด” ?

by

ทำไม “ทารกกำหมัด” ? การที่ “ทารกกำหมัด” แน่นเป็นเพียงหนึ่งในปฏิกิริยาตอบสนองของทารกแรกเกิดที่คุณจะสังเกตเห็นในช่วงสัปดาห์แรก ๆ หลังคลอด แต่การกำหมัดนี้เป็นปฏิกิริยาปกติของทารก ซึ่งเป็นหนึ่งในหลายการเคลื่อนไหวที่ช่วยพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กในอนาคตของทารก นี่เป็นข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสาเหตุที่ลูกน้อยของคุณกำหมัดและพฤติกรรมอื่น ๆ ของทารกทั่วไปที่คุณอาจอยากสอดส่อง พฤติกรรมบางอย่างที่คาดหวังได้ในทารกแรกเกิดมีอะไรบ้าง ? ขณะที่ลูกน้อยของคุณเรียนรู้ที่จะปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมใหม่ของพวกเขาหลังคลอด คุณอาจประหลาดใจ (และถึงกับตกใจ) ว่าทารกของคุณเคลื่อนไหวอย่างไรในการตอบสนองต่อภาพ เสียง และการสัมผัส แต่พึงระลึกไว้เสมอว่าลูกน้อยของคุณกำลังประสบกับการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่จากสภาพแวดล้อมก่อนหน้านี้ในครรภ์ที่มืดและอบอุ่น – ดังนั้น…

อย่าทำเพื่อช่วยให้ลูกถ่าย

5 สิ่งที่คุณไม่ควรทำเพื่อ “ช่วยให้ลูกถ่าย”

by

5 สิ่งที่คุณไม่ควรทำเพื่อ “ช่วยให้ลูกถ่าย” ช่วง 2-3 เดือนแรกของทารกแรกเกิดอาจจะดูเหมือนเป็นวงจรง่าย ๆ ของการกิน การนอน และขับถ่าย แต่เมื่ออยู่ไปสักพัก คุณจะเป็นกังวลและต้องการ “ช่วยให้ลูกถ่าย” เพราะอาจเริ่มสังเกตเห็นการเคลื่อนไหวของลำไส้ที่ผิดปกติ และด้วยเหตุนี้ ด้วยความห่วงใย จึงลงเอยด้วยความผิดพลาดที่อาจก่อให้เกิดอันตรายมากกว่าผลดีต่อทารก ต่อไปนี้คือ 5 สิ่งที่คุณไม่ควรทำเพื่อทำให้ลูกอึ   1. คิดเอาเองว่าลำไส้ของทารกจะต้องทำงานเป็นปกติ ความผิดพลาดที่พบบ่อยที่สุดที่พ่อแม่ทำคือการทึกทักเอาว่าลูกของพวกเขาต้องถ่ายอุจจาระเป็นประจำเช่นเดียวกับผู้ใหญ่…

คำแนะนำเรื่องลูกที่ล้าสมัย

15 “คำแนะนำเรื่องลูก” ที่ล้าสมัยไปแล้วโดยสิ้นเชิง

by

15 “คำแนะนำเรื่องลูก” ที่ล้าสมัยไปแล้วโดยสิ้นเชิง เมื่อคุณมีลูก ดูเหมือนทุกคนจะรู้ว่าอะไรดีที่สุดสำหรับคุณและลูกน้อยของคุณ ก็จริงอยู่ เมื่อคุณประกาศข่าวดีออกไป “คำแนะนำเรื่องลูก” มากมายก็หลั่งไหลเข้ามาหาคุณ แต่ภูมิปัญหาที่เชื่อกันในวันวานส่วนใหญ่ได้ถูกพิสูจน์แล้วว่าไม่จริง อ่านเรื่องราวของคำแนะนำในการเลี้ยงดูเด็ก 15 ชิ้นที่ตกยุคไปแล้วกันได้เลย 1. ทารกต้องอาบน้ำทุกวัน ทารกไม่ได้เหม็นเหงื่ออย่างที่ผู้ใหญ่เป็น พวกเขาจึงต้องอาบน้ำทุก 2-3 วันเท่านั้น (ยกเว้นหลังจากปล่อยระเบิดลงผ้าอ้อมครั้งใหญ่!) ถ้ามันเป็นส่วนหนึ่งของกิจวัตรการพักผ่อน การอาบน้ำทุกวันก็ไม่เป็นไรเช่นกัน แค่เติมความชุ่มชื้นให้ผิวเขาหลังจากนั้นก็พอ 2….

เด็กนั่งท่า w-sitting

“นั่งท่า W-sitting” ไม่อันตรายกับเด็กอย่างที่คิด

by

“นั่งท่า W-sitting” ไม่อันตรายกับเด็กอย่างที่คิด เรื่องของความอันตรายจากการ “นั่งท่า W-sitting” ของเด็ก ๆ เป็นกระแสที่ได้รับความสนใจจากผู้ปกครองในทุก ๆ ที่ หากคุณกำลังเป็นกังวลว่าการนั่งแบบนั้นของลูกจะส่งผลเสียอะไรกับเขาหรือเปล่า ไม่ว่าจะในเรื่องกระดูกหรือพัฒนาการทางการเคลื่อนไหว Motherhood อยากให้คุณได้อ่านบทความนี้ ก่อนที่จะคิดเปลี่ยนแปลงอะไรค่ะ คุณคงเคยเห็นเด็กเล็ก ๆ นั่งท่า ‘W’ กันมาบ้างแล้วใช่มั้ยคะ เรื่องมีอยู่ว่าการนั่งในท่านี้ที่อายุต่ำกว่า 2 ขวบมีแนวโน้มว่าจะปลอดภัย…

ลูกไม่ยอมคลาน

9 เหตุผลที่ทารกอาจ “ไม่ยอมคลาน”

by

9 เหตุผลที่ทารกอาจ “ไม่ยอมคลาน” หลังคลอดเจ้าตัวน้อย คุณจะเต็มไปด้วยความรู้สึกอันท่วมท้นและความกังวลสารพัด คุณต้องการทราบคะแนน Apgar กังวลเรื่องให้นม กังวลว่าเขา “ไม่ยอมคลาน” รวมทั้งเรื่องพัฒนาการต่าง ๆ อีกมากมาย อย่างไรก็ตาม สำหรับพัฒนาการของเด็กเล็กนั้น มีความล่าช้าบางอย่างที่ถือว่าปกติ Felice Sclamberg นักกิจกรรมบำบัดเด็กที่โรงเรียนแพทย์ NYU กล่าวว่า “เด็ก ๆ ต้องแอคทีฟตลอดเวลาเพื่อรักษาน้ำหนักของพวกเขา…

ความจริงของรถหัดเดิน

“รถหัดเดิน” อาจไม่ดีจริงอย่างที่คุณเคยคิด

by

“รถหัดเดิน” อาจไม่ดีจริงอย่างที่คุณเคยคิด พ่อแม่สมัยใหม่หลายคนหาซื้อ “รถหัดเดิน” มาให้ลูกน้อยใช้ตั้งแต่อายุประมาณ 4 เดือน โดยมีความเชื่อว่าจะช่วยทำให้เด็กเดินได้เร็วขึ้น ส่วนพ่อแม่อีกจำนวนหนึ่งซื้อมาใช้ด้วยเหตุผลว่าไม่มีคนดูแลลูก เพราะต้องทำงานบ้าน แต่ผลการศึกษาระบุว่าการให้เด็กใช้เวลาบนรถหัดเดินนี้เป็นเวลาหลายชั่วโมงจะทำให้กลไกการเดินของเด็กผิดปกติ เท็จจริงอย่างไร เรามาติดตามกันค่ะ ทำไมผู้เชี่ยวชาญถึงไม่สนับสนุนรถหัดเดิน ? สำนักบริการสาธารณสุขแห่งชาติหรือเอ็นเอชเอส ของอังกฤษ และหน่วยงานอย่างสมาคมนักกายภาพบำบัดกุมารเวชศาสตร์ (Association of Paediatric Chartered Physiotherapists) เคยออกมาชี้ว่าเก้าอี้หัดเดินของเด็กนั้นจัดเป็นอุปกรณ์กายภาพบำบัด…

กลัวลูกหัวแบน

จัดท่านอนอย่างไร ? ป้องกัน “ลูกหัวแบน”

by

จัดท่านอนอย่างไร ? ป้องกัน “ลูกหัวแบน” คุณพ่อคุณแม่มักจะกังวลเกี่ยวกับรูปร่างลักษณะของลูกที่ดูไม่เป็นไปตามมาตรฐาน หลายคนก็กังวลเรื่องศีรษะของลูกว่า “ลูกหัวแบน” หัวไม่ทุยได้รูปสวย เพราะเกิดมาจากความเชื่อว่าการให้เด็กทารกนอนหงายจะเกิดการกดทับที่ศีรษะด้านหลัง แล้วหัวของลูกจะไม่ทุยสวย ครั้นจะแก้ปัญหาด้วยการให้ลูกนอนคว่ำ ก็กลัวว่าจะเกิดภาวะหลับไม่ตื่นหรือเปล่า วันนี้ Motherhood เลยจะมาพูดถึงประเด็นหัวทุย-หัวแบนให้เคลียร์ใจกันค่ะ ทำไมลูกถึงหัวแบน หัวไม่ทุยสวย ? การที่ศีรษะของทารกไม่ทุยหรือมีรูปร่างเบี้ยว เป็นหนึ่งในความผิดปกติของกะโหลกศีรษะ สามารถแบ่งออกได้ 2 ประเภท คือ…