วัยเตาะแตะ 1-3 ปี

ผ่านพ้นจากวัยทารกเข้าสู่ “วัยเตาะแตะ 1-3 ปี” ลูกรักของคุณก็มีพัฒนาการเพิ่มขึ้นอีกขั้น ซึ่งเขายังคงต้องการการเอาใจใส่ดูแลให้มีพัฒนาการที่ดียิ่งๆขึ้นไป

ช่วยด้วยลูกชอบดึงผมตัวเอง

ทำไงดี ? “ลูกชอบดึงผมตัวเอง”

by

ทำไงดี ? “ลูกชอบดึงผมตัวเอง” หากคุณสังเกตเห็นว่าลูกวัยเตาะแตะของคุณดึงผม ขนตา หรือคิ้วของเขาเอง สิ่งแรกที่ควรทำก็คือ … ไม่ต้องทำอะไรเลย ใช่ค่ะ แม้ “ลูกชอบดึงผมตัวเอง” เพียงแค่คุณหมั่นสังเกตเขาสักหนึ่งหรือสองสัปดาห์ เพื่อดูว่าเขาดึงผมเมื่อไหร่และที่ไหน และพฤติกรรมนี้ก็จะค่อย ๆ หายไปเอง แต่ถ้าคุณรู้สึกว่ามันเป็นการยากสำหรับคุณที่จะเฝ้าดูอยู่เฉย ๆ โดยไม่ได้ทำอะไรกับเรื่องนี้เลย ซึ่งแน่นอนว่าสำหรับพ่อแม่ส่วนมากมันก็เป็นเรื่องที่เข้าใจได้ว่าทำไมมันยากสำหรับคุณ หรือถ้าการดึงผมของลูกยังคงเกิดขึ้นนานกว่า 2 สัปดาห์…

พ่อแม่ห่างลูก

คู่มือพ่อแม่ รับมือกับเด็กเล็กเมื่อคุณต้อง “ห่างลูก”

by

คู่มือพ่อแม่ รับมือกับเด็กเล็กเมื่อคุณต้อง “ห่างลูก” ลูกน้อยวัยหัดเดินของคุณร้องไห้หรือเกาะติดคุณแจเมื่อคุณกำลังเดินออกจากห้องหรือเปล่า ? ลูกอาจกำลังประสบกับความวิตกกังวลเมื่อคุณต้อง “ห่างลูก” คุณควรเรียนรู้วิธีระบุสัญญาณและช่วยให้ลูกน้อยรู้สึกสบายใจเมื่อไม่มีคุณ หากการจากลาเต็มไปด้วยเสียงกรีดร้องและน้ำตา ลูกน้อยของคุณอาจมีความวิตกกังวลจากการพลัดพราก ฟราน วัลฟิช นักจิตบำบัด ผู้เขียน The Self-Aware Parent อธิบายว่า “เมื่อเด็กๆ เริ่มเดิน พวกเขายืนยันความเป็นอิสระและย้ายห่างจากพ่อแม่ แต่พวกเขายังไม่พร้อมที่จะแยกจากกันโดยสิ้นเชิง” เมื่อลูกวัยเตาะแตะอยู่ห่างจากคุณ พวกเขาอาจรู้สึกว่าจำเป็นต้องอยู่เคียงข้างคุณอย่างมาก…

รู้จักวันภาษามือโลก

วันภาษามือโลก: พ่อแม่เรียนภาษามือได้ที่ไหน หากลูกมีปัญหาทางการได้ยิน ?

by

วันภาษามือโลก: พ่อแม่เรียนภาษามือได้ที่ไหน หากลูกมีปัญหาทางการได้ยิน ? เนื่องจากเมื่อวาน วันที่ 23 กันยายน เป็น “วันภาษามือโลก” และเมื่อเราย้อนไปในปี ค.ศ. 1951 ก็จะพบว่าเป็นวันก่อตั้งสมาคมคนหูหนวกโลกหรือ WFD ด้วยเช่นกัน และเพราะภาษามือของแต่ละประเทศมีวิวัฒนาการที่เป็นอิสระจากกัน ทำให้พ่อแม่ที่ลูกมีปัญหาทางการได้ยินรู้สึกว่ามีอีกหน้าที่ที่พวกเขาต้องทำเพื่อลูกรัก นั่นก็คือการไปเรียนภาษามือค่ะ ภาษามือสำหรับผู้ปกครอง ข้อมูลจากสมาคมคนหูหนวกโลก (WDF) เผยว่า ปัจจุบันมีผู้พิการทางการได้ยินมากกว่า…

อาหารบำรุงสมองสำหรับเด็กเล็ก

6 อาหารบำรุงสมอง สำหรับลูกน้อยวัยเตาะแตะของคุณ

by

6 อาหารบำรุงสมอง สำหรับลูกน้อยวัยเตาะแตะของคุณ คำว่า You are what you eat ไม่ใช่คำกล่าวที่เกินจริง โดยเฉพาะในช่วงก่อนอายุ 2 ขวบ “อาหารบำรุงสมอง” จึงเป็นสิ่งที่จำเป็นมาก และคุณต้องแน่ใจได้ว่าลูกน้อยของคุณได้รับสารอาหารที่จำเป็นต่อการเจริญเติบโต พ่อแม่ทุกคนทราบดีว่าลูกน้อยของคุณต้องการอาหารที่มีประโยชน์และมีคุณค่าทางโภชนาการเพื่อเติบโต แต่คุณรู้หรือไม่ว่าสิ่งที่พวกเขากินยังช่วยพัฒนาสมองของพวกเขาด้วย เพราะช่วง 1,000 วันแรกของชีวิต ตั้งแต่ปฏิสนธิจนถึงอายุ 2 ขวบมีความสำคัญที่สุดสำหรับการพัฒนาสมอง…

เลี้ยงลูกให้ห่างหน้าจอ

เลี้ยงลูกเล็กให้ “ห่างหน้าจอ”

by

เลี้ยงลูกเล็กให้ “ห่างหน้าจอ” เรารู้ว่าพ่อแม่หลายคนรู้สึกผิดที่อยากพักและปล่อยให้ลูกหน้าจอแทน แต่ไม่เป็นไรเลย เรารู้ว่าคุณอยากพักบ้าง และการเลี้ยงลูกให้ “ห่างหน้าจอ” ก็จะไม่ใช่เรื่องยากอีกต่อไป เพราะเรามีวิธีที่สร้างสรรค์เพื่อให้ทุกอย่างสมดุล เพราะโทรทัศน์และอินเทอร์เน็ตที่น้อยลงหมายถึงคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นสำหรับเราทุกคน เมื่อเราปิดหน้าจอ มันสามารถกระตุ้นให้เราตั้งใจทำงานมากขึ้น มีการโต้ตอบมากขึ้น ครอบครัวของคุณสามารถเพลิดเพลินกับช่วงเวลาแห่งความสุขแทนที่จะปล่อยให้พวกมันค่อย ๆ เลือนหายไปในพื้นหลังของรายการทีวีหรือวิดีโอเกม ดังนั้น ในขณะเราต้องต่อสู้ดิ้นรนกับสิ่งนี้ เราก็ไม่เคยยอมแพ้ จริงอยู่ว่านี่ไม่ใช่การต่อสู้แบบที่มีผลชนะหรือแพ้ มันเหมือนเป็นการชักเย่อมากกว่า เป็นการสร้างสมดุลระหว่างการให้และรับ เราอาจสูญเสียไปบ้างในบางครั้ง แต่เราไม่เคยยอมแพ้…

ไปหานักบำบัดการพูด

เมื่อต้องพาลูกไปหา “นักบำบัดการพูด”

by

เมื่อต้องพาลูกไปหา “นักบำบัดการพูด” พัฒนาการของลูกเป็นสิ่งที่พ่อแม่ต้องใส่ใจนะคะ หากลูกของคุณมีการพัฒนาที่ล่าช้าหรือผิดปกติในเรื่องการพูด ก็ถึงเวลาที่ต้องพึ่งพา “นักบำบัดการพูด” แล้วค่ะ แต่เรื่องนี้นับว่าเป็นสิ่งที่พ่อแม่ชาวไทยยังไม่ค่อยมีความรู้ความเข้าใจมากนัก วันนี้ Motherhood ก็เลยจะมาบอกเล่าเกี่ยวกับหน้าที่และการทำงานของนักบำบัดการพูดให้ได้ทราบกันค่ะ จะได้รู้ว่าเขามีการทำงานกันอย่างไร และหากลูกเราควรต้องเข้ารับการบำบัด เราจะต้องเริ่มจากตรงไหน การบำบัดการพูดคือการประเมินและการรักษาปัญหาการสื่อสารและความผิดปกติของการพูด ดำเนินการโดยนักพยาธิวิทยาภาษาพูด (Speech-language pathologists – SLPs) ซึ่งมักเรียกกันว่านักบำบัดการพูด เทคนิคบำบัดการพูดใช้เพื่อปรับปรุงการสื่อสาร ซึ่งรวมถึงการบำบัดด้วยการประกบ กิจกรรมการแทรกแซงทางภาษา…

เลิกนอนกลางวันเมื่อไหร่

ลูกจะเลิก “นอนกลางวัน” เมื่อไหร่กันนะ ?

by

ลูกจะเลิก “นอนกลางวัน” เมื่อไหร่กันนะ ? พ่อแม่คลายคนคงอยากรู้ว่าเมื่อไหร่ที่ลูกจะเลิกพฤติกรรม “นอนกลางวัน” เสียที Motherhood จึงนำเอาเคล็ดลับจากผู้เชี่ยวชาญมาฝากกัน เป็นเคล็ดลับที่จะทำให้คุณยุติการนอนกลางวันของลูกได้อย่างราบรื่น เมื่อลูกของคุณอยู่ในวัยแรกเกิด เขาอาจจะนอนหลับเกือบตลอดทั้งวัน เพราะการนอนหลับมีความสำคัญต่อพัฒนาการทางจิตใจและร่างกายในช่วงแรกเกิดนี้ ในที่สุดลูกน้อยของคุณจะเริ่มลดการนอนกลางวันลงเหลือเพียง 2 ช่วง โดยปกติจะมีรอบงีบในช่วงเช้าและช่วงบ่าย เขาจะทำเช่นนี้เป็นกิจวัตรอยู่ชั่วขณะหนึ่ง แต่การงีบตอนเช้ามักจะหายไปในช่วง 12-21 เดือน แล้วเมื่อไหร่ละที่เด็ก ๆ หยุดงีบหลับโดยสิ้นเชิง…

พัฒนาการทางภาษาของลูก

5 พัฒนาการทางภาษา ของเด็กต่ำกว่า 5 ขวบ

by

5 พัฒนาการทางภาษา ของเด็กต่ำกว่า 5 ขวบ เด็กเรียนรู้ภาษาตั้งแต่แรกเกิด ดังนั้น จึงเป็นประโยชน์อย่างยิ่งที่พ่อแม่จะเรียนรู้เกี่ยวกับ “พัฒนาการทางภาษา” ตามช่วงวัย และสัญญาณของความผิดปกติทางภาษาที่อาจเกิดขึ้นไว้ตั้งแต่เนิ่น ๆ เพราะการตรวจจับความผิดปกติทางด้านภาษาล่วงหน้าสามารถช่วยป้องกันความท้าทายด้านวิชาการ สังคม และอารมณ์ของลูกน้อยในอนาคต คุณพ่อคุณแม่ควรทราบไว้ว่าเด็กทุกคนมีความแตกต่างและพัฒนาในวิธีที่ต่างกัน ช่วงเวลาสำคัญเหล่านี้สามารถช่วยให้คุณวัดระยะของพัฒนาการในปัจจุบันของลูก แต่พยายามอย่าใช้มันเพื่อตรวจสอบอย่างเข้มงวดจนเกินไปนัก ต่อไปนี้เป็นตัวบ่งชี้การพัฒนาทางภาษาทั่วไป 5 แบบ รวมทั้งวิธีที่คุณจะสามารถส่งเสริมการเรียนรู้ภาษาให้กับลูกในทุกช่วงอายุ 1. ยิ้มและมีปฏิกิริยากับผู้คน…

พัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็กของเด็ก

พัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็ก : การเขียนหนังสือและการวาดรูป

by

พัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็ก : การเขียนหนังสือและการวาดรูป พัฒนาการของลูกน้อยเป็นสิ่งที่พ่อแม่ทุกคนให้ความสำคัญเป็นพิเศษนะคะ ซึ่งในวันนี้เราจะมาพูดถึง “พัฒนาการกล้ามเนื้อมัดเล็ก” ของเด็กวัยหัดเดินว่าควรจะมีอะไรบ้างในแต่ละช่วงขวบปีของเขา เพื่อที่คุณพ่อคุณแม่จะได้ทราบว่ามีสิ่งใดที่เราต้องโฟกัสสำหรับกล้ามเนื้อในส่วนนี้ค่ะ เมื่อไหร่? และอะไรบ้างที่จะพัฒนา ความพยายามในการเขียนครั้งแรกของลูกคุณจะไม่ได้ออกมาดูเหมือนเป็นคำและประโยคอะไร แต่การเขียนลายเส้นและภาพวาดของเขานั้นจะช่วยให้เขาพร้อมที่จะเรียนรู้ ก.ไก่ ข.ไข่ ได้ในอนาคตอันใกล้ เด็กหลายคนสามารถจับดินสอสีและวาดขยุกขยิกลงบนกระดาษ เมื่ออายุประมาณ 12 หรือ 13 เดือน ทักษะการเขียนและการวาดของพวกเขาพัฒนาขึ้นทีละเล็กละน้อยตลอดหลายปีในช่วงวัยหัดเดิน จนกระทั่งพวกเขาสามารถวาดภาพตามสิ่งที่เขาจดจำได้ และในที่สุดก็จะเริ่มเขียนตัวอักษร…

ปัญหาพัฒนาการช้า

ปัญหา “พัฒนาการช้า” พ่อแม่จะรับมืออย่างไร

by

ปัญหา “พัฒนาการช้า” พ่อแม่จะรับมืออย่างไร ปัญหา “พัฒนาการช้า” เป็นอีกสิ่งหนึ่งที่คนเป็นพ่อเป็นแม่ไม่อยากจะให้เกิดขึ้นกับลูกน้อย หลังจากที่เขาลืมตาดูโลก พ่อแม่ทุกคนก็เฝ้าเลี้ยงดูเอาใจใส่ ด้วยหวังว่าเขาจะเติบโตมามีพัฒนาการที่ดีตามวัย หากแต่เด็กบางคนกลับไม่เป็นเช่นนั้น ยิ่งโดยเฉพาะกับเด็กก่อนวัยเรียน แต่อะไรละคือสัญญาณบ่งบอกว่าคุณอาจจะกำลังประสบปัญหานี้อยู่ วันนี้ Motherhood จะชวนคุณพ่อคุณแม่มาทำความเข้าใจกับปัญหาพัฒนการของลูกกันนะคะ ลูกของเราอาจมีปัญหาพัฒนาการช้าหรือเปล่า? ในขณะที่คุณเฝ้าดูลูกน้อยเติบโตพร้อมทั้งคาดหวังให้เขามีพัฒนาการที่ดี มันเป็นเรื่องธรรมดาที่คุณจะสงสัยหรือเป็นกังวลว่าพัฒนาของลูกน้อยจะอยู่ในทางที่ถูกที่ควรแล้วหรือไม่ ซึ่งมันก็มีโอกาสที่เขาจะพัฒนาไปได้ตามจังหวะเวลาอันเหมาะสมของเขาเอง โดยส่วนมากแล้ว เด็ก ๆ จะมีพัฒนาการที่สำคัญแต่ละครั้ง เช่น…