เชื้อไวรัส

โควิดสายพันธุ์เอปซิลอนระบาด

โควิดสายพันธุ์เอปซิลอน เชื้อกลายพันธุ์ที่สหรัฐกำลังจับตา

by

โควิดสายพันธุ์เอปซิลอน เชื้อกลายพันธุ์ที่สหรัฐกำลังจับตา การแพร่ระบาดของเชื้อ “โควิดสายพันธุ์เอปซีลอน” เป็นสิ่งที่หน่วยงานสาธารณสุขของสหรัฐยังคงต้องเฝ้าระวังอย่างเข้มข้น ซึ่งมีผลการศึกษาบ่งชี้ว่ามันสามารถลดประสิทธิภาพของวัคซีนชนิด mRNA ส่งผลให้วัคซีนไฟเซอร์-โมเดอร์นา มีประสิทธิภาพลดลงถึง 2-3.5 เท่าตัวเลยทีเดียวค่ะ ไวรัสกลายพันธุ์สายพันธุ์เอปซิลอน สำนักข่าวต่างประเทศรายงานจากกรุงวอชิงตัน ประเทศสหรัฐอเมริกา ว่าแม้ศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคของสหรัฐ (CDC) จะลดระดับความรุนแรงของเชื้อไวรัสโคโรนากลายพันธุ์ ‘เอปซีลอน’ หรือ ‘เอปไซลอน’ (Epsilon) ซึ่งพบครั้งแรกในรัฐแคลิฟอร์เนียตั้งแต่เดือนมีนาคมปีที่แล้ว ออกจากบัญชีสายพันธุ์น่าวิตกกังวลลงมาอยู่ที่สายพันธุ์น่าจับตา (VOI)…

โควิดสายพันธุ์เบต้าในไทย

พบผู้ติดเชื้อ “โควิดสายพันธุ์เบต้า” รายแรกในกทม.แล้ว

by

พบผู้ติดเชื้อ “โควิดสายพันธุ์เบต้า” รายแรกในกทม.แล้ว เชื้อไวรัสโคโรนานี่กลายพันธุ์กันเก่งนะคะ ล่าสุดก็มี “โควิดสายพันธุ์เบต้า” เกิดขึ้นมาจนได้ และในไทยเราเองก็ได้พบผู้ที่ติดเชื้อนี้เป็นรายแรกแล้วด้วยค่ะ เป็นเรื่องที่น่ากังวลมากทีเดียวที่มีผู้ติดเชื้อจากสายพันธุ์ใหม่ ๆ เพิ่มขึ้น เรามาติดตามความคืบหน้าและมาทำความรู้จักเชื้อโควิดสายพันธุ์ใหม่นี้ให้ดียิ่งขึ้นกันค่ะ วันที่ 27 มิถุนายน 2564 สำนักข่าวต่าง ๆ ได้เปิดเผยรายงานข้อมูลจากแหล่งข่าวระดับสูง ในกระทรวงสาธารณสุข ถึงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ในประเทศไทย โดยล่าสุดมีรายงานว่าพบเชื้อสายพันธุ์เบตา (แอฟริกาใต้)…

ยารักษาโควิด regen-cov

“ยารักษาโควิด” ตัวที่ 3 ถูกค้นพบแล้วที่อังกฤษ

by

“ยารักษาโควิด” ตัวที่ 3 ถูกค้นพบแล้วที่อังกฤษ มีข่าวดีมาให้เราชื่นใจกันอีกแล้วค่ะ เมื่ออังกฤษค้นพบ “ยารักษโควิด” ที่สามารถรักษาได้อย่างตรงจุด มีประสิทธิภาพช่วยลดการเสียชีวิตของผู้ป่วยหนักที่ร่างกายไม่สามารถสร้างภูมิคุ้มกันได้อย่างน่าทึ่งเลยทีเดียว เรามาติดตามความคืบหน้าของข่าวอันน่ายินดีนี้กันค่ะ ยารักษาโควิดตัวที่ 3 ของโลก The Guardian รายงานถึงการค้นพบยาปฏิชีวนะรักษาโรค COVID-19 ตัวที่ 3 ที่ถูกค้นพบภายใต้โครงการการทดลองที่ชื่อ Recovery ซึ่งเป็นโครงการของมหาวิทยาลัยอ็อกซ์ฟอร์ด โดยยาตัวนี้สามารถช่วยให้ผู้ป่วยฟื้นตัวได้ดีขึ้นหลังการติดเชื้อไวรัสโคโรนา และสามารถลดอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยอาการหนักที่สุดได้สูงถึง…

อาการลองโควิด

อาการ “ลองโควิด” คืออะไร ? ทำไมพบในผู้หญิงมากกว่า ?

by

อาการ “ลองโควิด” คืออะไร ? ทำไมพบในผู้หญิงมากกว่า ? สำหรับคนที่ล้มป่วยด้วยโรคโควิด-19 บางคนมีอาการป่วยเรื้อรังในระยะยาว แม้ว่าร่างกายจะหมดเชื้อแล้ว หรือ “ลองโควิด” ส่วนมากจะพบได้ในกลุ่มผู้ป่วยหญิงในวัยสาวและวัยกลางคน และยังพบได้มากกว่ากลุ่มผู้ป่วยชายถึง 4 เท่า ในขณะที่ผู้ป่วยชายวัย 50 ปีขึ้นไป มีแนวโน้มที่จะป่วยแบบมีอาการรุนแรงได้มากกว่า ทำไมถึงเป็นเช่นนั้น ? วันนี้ Motherhood นำคำตอบมาฝากคุณค่ะ…

ติดโควิด-19 สายพันธุ์เดลตา

โควิด-19 สายพันธุ์เดลตา เป็นแล้วป่วยไม่หนัก แทบไม่มีอาการ

by

โควิด-19 สายพันธุ์เดลตา เป็นแล้วป่วยไม่หนัก แทบไม่มีอาการ ท่ามกลางข่าวยอดผู้ติดเชื้อที่เพิ่มขึ้นในประเทศไทย มีผู้ติดเชื้อหลายคนที่แทบไม่มีอาการป่วยเลย นั่นเป็นเพราะ “โควิด-19 สายพันธุ์เดลตา” นั่นเอง และเมื่อพวกเขาไม่รู้สึกถึงอาการเจ็บป่วยที่รุนแรงเท่าผู้ป่วยคนอื่น ๆ เขาจึงใช้ชีวิตอย่างธรรมดา ไม่มีการกักตัวอะไร ซึ่งก็ยิ่งเป็นการแพร่เชื้อออกไปมากขึ้น เรามาดูรายละเอียดของเชื้อโควิด-19 ชนิดนี้กันดีกว่าค่ะ ทีมนักวิจัยโครงการศึกษาที่ชื่อโซอี โควิด ซิมป์เทิม (Zoe Covid Symptom) ที่นำโดยศาสตราจารย์…

เริ่มฉีดวัคซีน ChulaCov19

“วัคซีน ChulaCov19” รุ่นแรกของไทย เริ่มฉีดทดลองในมนุษย์ครั้งแรกแล้ว

by

“วัคซีน ChulaCov19” รุ่นแรกของไทย เริ่มฉีดทดลองในมนุษย์ครั้งแรกแล้ว หลายคนอาจจะยังไม่ทราบว่าประเทศไทยเราได้มีการซุ่มทดลองวัคซีน COVID-19 มาสักระยะแล้ว ซึ่งนั่นก็คือ “วัคซีน ChulaCov19” ที่ดำเนินการโดยศูนย์วิจัยวัคซีน คณะแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นั่นเอง ความคืบหน้าของการทดลองวัคซีนตัวนี้จะเป็นอย่างไรนั้น Motherhood นำรายละเอียดมาฝากกันแล้วค่ะ วันที่ 14 มิถุนายน ที่ผ่านมา โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย คณะแพทยศาสตร์…

ทารกติด CMV virus

CMV virus อันตรายแค่ไหนถ้าลูกคุณติด ?

by

CMV virus อันตรายแค่ไหนถ้าลูกคุณติด ? ช่วงนี้เริ่มมีกระแสการป่วยของเด็ก ๆ ที่มีสาเหตุมาจาก “CMV virus” คุณพ่อคุณแม่หลายคนจริงเกิดความเป็นห่วง พร้อมทั้งอยากมีความรู้ให้มากขึ้นถึงที่มาที่ไปของเจ้าไวรัสชนิดนี้ รวมทั้งการดูแลรักษา วันนี้ Motherhood เลยนำเอาความรู้เรื่องนี้มาฝากกันค่ะ CMV virus คืออะไร ? Cytomegalovirus infection คือ โรคติดเชื้อที่เกิดจากเชื้อไซโตเมกาโลไวรัสหรือเชื้อซีเอ็มวี (Cytomegalovirus…

ฉีดน้ำเปล่าแทนวัคซีนโควิด-19

ฉีดน้ำเปล่าแทนวัคซีน COVID-19 ที่เคนยา

by

ฉีดน้ำเปล่าแทนวัคซีน COVID-19 ที่เคนยา ขณะที่เคนยาเร่งฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 ให้กับประชากร 54 ล้านคน กลับพบว่ามีการ “ฉีดน้ำเปล่าแทนวัคซีน” ให้กับประชาชนที่ไม่ทันรู้ตัว โดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในโรงพยาบาลของรัฐ และยังให้พวกเขาต้องจ่ายเงินอีกด้วย ภายใต้แผนการเปิดตัววัคซีนโควิด-19 ของเคนยา ซึ่งได้รับการสนับสนุนจากโครงการ COVAX ที่ริเริ่มไปทั่วโลก ประชาชนจะได้รับการรับประกันว่าจะได้รับวัคซีน AstraZeneca ฟรีในสถานพยาบาลที่ได้รับการรับรองทั่วประเทศในโซนแอฟริกาตะวันออก แต่เมื่อเกิดการขาดแคลนวัคซีน มีรายงานว่าเจ้าหน้าที่สาธารณสุขในโรงพยาบาลของรัฐกำลังหาประโยชน์จากชาวเคนยาที่ต้องการฉีดวัคซีน โดยไม่เพียงแต่ให้พวกเขาต้องจ่ายค่ายา ซึ่งผิดกฎหมาย…

ใช้เครื่องตรวจโควิดผ่านลมหายใจ

สิงคโปร์เริ่มใช้ “เครื่องตรวจโควิดผ่านลมหายใจ” รู้ผลใน 1 นาที

by

สิงคโปร์เริ่มใช้ “เครื่องตรวจโควิดผ่านลมหายใจ” รู้ผลใน 1 นาที ไม่น่าเชื่อว่าโลกเรากำลังจะมี “เครื่องตรวจโควิดผ่านลมหายใจ” ที่มีลักษณะคล้ายกับเครื่องเป่าตรวจวัดระดับแอลกอฮอล์แล้ว ซึ่งเป็นผลงานจากประเทศสิงคโปร์ ซึ่งจะเตรียมนำไปใช้ที่จุดผ่านแดนมาเลเซีย เรามาติดตามความก้าวหน้าในการตรวจหาเชื้อ COVID-19 นี้กันค่ะ หน่วยงานด้านสาธารณสุขสิงคโปร์ได้อนุมัติการใช้งานเครื่องตรวจลมหายใจเพื่อหาเชื่อโควิด-19 เป็นกรณีพิเศษชั่วคราว โดยมีประสิทธิภาพทราบผลตรวจได้ภายใน 1 นาที รายงานระบุว่าเครื่องตรวจโควิดผ่านลมหายใจนี้เป็นผลงานการพัฒนาของบริษัทบรีทโทนิกซ์ ซึ่งเป็นบริษัทสตาร์ทอัพในเครือของมหาวิทยาลัยแห่งชาติสิงคโปร์ (NUS) ที่ได้ทำการคิดค้นและพัฒนาร่วมกับกระทรวงสาธารณสุขสิงคโปร์ โดยเตรียมนำร่องทดลองใช้เป็นการชั่วคราวบริเวณจุดผ่านแดน Tuas…

วัคซีนโควิดสายพันธุ์อินเดีย

วิจัยแล้ว “โควิดสายพันธุ์อินเดีย” เอาอยู่ด้วยวัคซีนไฟเซอร์-แอสตร้าเซนเนก้า

by

วิจัยแล้ว “โควิดสายพันธุ์อินเดีย” เอาอยู่ด้วยวัคซีนไฟเซอร์-แอสตร้าเซนเนก้า ตอนนี้ COVID-19 เข้ามาไทยครบทุกสายพันธุ์แล้วนะคะ แต่สายพันธุ์ที่คนไทยน่าจะกังวลมากที่สุดก็หนีไม่พ้น “โควิดสายพันธุ์อินเดีย” นี่ละค่ะ แต่ไม่ต้องกังวลไป เพราะล่าสุดนักวิจัยจากอังกฤษได้ยืนยันแล้วว่าวัคซีนของไฟเซอร์และแอสตร้าเซนเนก้า มีประสิทธิภาพดีมากพอที่จะต้านเชื้อ COVID-19 สายพันธุ์อินเดียได้แน่นอนค่ะ เรามาติดตามความคืบหน้าของงานวิจัยชิ้นนี้กัน สาธารณสุขของอังกฤษเผยผลการศึกษาวิจัยประสิทธิภาพของวัคซีน COVID-19 จากไฟเซอร์และแอสตร้าเซนเนก้า ว่ามีประสิทธิภาพสูงในการต้านเชื้อไวรัส COVID-19 สายพันธุ์จากอินเดีย หลังจากที่ผู้รับวัคซีนได้รับวัคซีนโดสที่ 2 ไปแล้ว…