โรคติดต่อ

วันล้างมือโลกปี 2022

วันล้างมือโลก 2022

by

วันล้างมือโลก 2022 วันที่ 15 ตุลาคมของทุกปีเป็น “วันล้างมือโลก” เพื่อเน้นถึงความสำคัญของการล้างมือด้วยสบู่และน้ำที่บ้าน ในชุมชน และทั่วโลก เพราะการล้างมือเป็นวิธีที่มีประสิทธิภาพที่สุดวิธีหนึ่งในการหยุดการแพร่กระจายของเชื้อโรคและรักษาสุขภาพให้แข็งแรง การรักษามือให้สะอาดสามารถป้องกันโรคท้องร่วงได้ 1 ใน 3 และการติดเชื้อทางเดินหายใจ 1 ใน 5 เช่นไข้หวัดหรือไข้หวัดใหญ่ เชื้อโรคจำนวนมากที่สามารถทำให้คนป่วยแพร่กระจายได้เมื่อเราไม่ล้างมือด้วยสบู่และน้ำ นั่นคือเหตุผลที่การล้างมือมีความสำคัญมาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงเวลาสำคัญ เช่น หลังการใช้ห้องน้ำ…

พาลูกเที่ยวต่างประเทศช่วงโควิด-19

พาลูก “เที่ยวต่างประเทศช่วงโควิด-19” เตรียมตัวยังไงดี ?

by

พาลูก “เที่ยวต่างประเทศช่วงโควิด-19” เตรียมตัวยังไงดี ? ด้วยมาตราการที่ผ่อนปรนลงในหลาย ๆ ประเทศ จึงไม่แปลกนัก หากเหล่าผู้ปกครองจะอยากพาลูกหลานออกไปเปิดโลกกว้าง หรือเยี่ยมญาติ ๆ บ้าง หลังจากที่ต้องกักตัวอยู่บ้านเสียนาน! ว่าแต่ต้องเตรียมพร้อมอะไรบ้างนะก่อนเดินทางไกล? โดยเฉพาะการท่องเที่ยวในต่างประเทศ พาสสปอร์ตเด็กๆ เริ่มต้นยังไงดี วันนี้เรามีคำตอบ! เตรียมเอกสารก่อนพาลูกน้อยทำพาสปอร์ต สำหรับเอกสารการทำพาสปอร์ตให้เด็กๆ เหล่าคุณพ่อคุณแม่จะต้องเตรียบมเอกสาร ดังนี้ บัตรประจำตัวประชาชนของผู้เยาว์ (ฉบับจริง)…

วัคซีนบูสเตอร์โควิด

สิ่งที่คนท้องต้องรู้เกี่ยวกับ “วัคซีนบูสเตอร์”

by

สิ่งที่คนท้องต้องรู้เกี่ยวกับ “วัคซีนบูสเตอร์” หากคุณเป็นคนหนึ่งที่ได้รับวัคซีนสำหรับ COVID-19 ครบแล้วและตอนนี้กำลังเตรียมที่จะรับ “วัคซีนบูสเตอร์” หรือที่รู้จักกันในนามวัคซีนเข็มกระตุ้น ในขณะที่คุณกำลังตั้งครรภ์อยู่ คุณอาจจะสงสัยว่าไตรมาสไหนถึงจะเป็นช่วงที่เหมาะสมที่สุด ได้รับวัคซีนกระตุ้นเป็นวัคซีนตัวไหนถึงจะดีกว่ากัน แล้วเป็นไปได้ไหมที่จะรับวัคซีนนี้หลังคลอดน้องแล้ว วันนี้ Motherhood นำเอาคำตอบของคำถามมากมายเหล่านี้มาฝากค่ะ หากคุณกำลังตั้งครรภ์และได้รับวัคซีนป้องกันโควิด-19 มาแล้ว 2 เข็ม คุณอาจได้รับคำสั่งให้ได้รับการฉีดบูสเตอร์เพิ่มอีก หากคุณยังไม่ได้ไปฉีดเพราะว่ามีความสงสัยข้องใจอยู่หลายอย่าง นี่คือคำตอบที่จะคลายข้องสงสัยของคุณ ควรรับวัคซีนกระตุ้นช่วงตั้งครรภ์หรือไม่ ? ตั้งครรภ์อยู่ควรเว้นระยะระหว่างเข็มอย่างไร…

เป็นวัณโรคในเด็ก

วัณโรคในเด็ก (Tuberculosis in Children)

by

วัณโรคในเด็ก (Tuberculosis in Children) ประเทศไทยเป็น 1 ใน 14 ประเทศของโลกที่มีผู้ป่วยวัณโรคมากที่สุดในโลกจากการจัดอับดับโดยองค์การอนามัยโลก ในปี พ.ศ. 2559 แต่ “วัณโรคในเด็ก” นั้น วินิจฉัยได้ยากกว่าผู้ใหญ่ เพราะโอกาสจะตรวจพบเชื้อวัณโรคมีน้อย แล้วเราจะป้องกันหรือรักษาให้ลูกได้อย่างไร ติดตามได้ในบทความวันนี้ค่ะ วัณโรคมีการติดต่ออย่างไร ? วัณโรคเป็นโรคที่ติดต่อจากคนสู่คนโดยการแพร่กระจายไปในอากาศ ไม่ได้ติดต่อทางการสัมผัส ซึ่งจะเกิดขึ้นเมื่อผู้ป่วยวัณโรค…

เด็กติดเชื้อเอชไอวีทั่วโลก

“เด็กติดเชื้อเอชไอวี” และโรคเอดส์

by

“เด็กติดเชื้อเอชไอวี” และโรคเอดส์ วันนี้เป็นวันเอดส์โลกค่ะ คุณทราบกันไหมคะว่า “เด็กติดเชื้อเอชไอวี” มีมากถึง 3.7 ล้านคน (อายุต่ำกว่า 19 ปี) ซึ่งมันเป็นไวรัสที่สามารถนำไปสู่โรคเอดส์ได้ เคสส่วนใหญ่อยู่ในอนุภูมิภาคทะเลทรายซาฮาราในแอฟริกา อันที่จริงมันเป็นสาเหตุสำคัญของการเสียชีวิตในหมู่เด็กก่อนวัยรุ่นและวัยรุ่นที่นั่น เอชไอวีทำลายระบบภูมิคุ้มกันของคุณ คุณจึงไม่สามารถต่อสู้กับการติดเชื้อและมะเร็งบางชนิดได้ดี แต่ด้วยตัวยาและการสนับสนุนด้วยความรัก เด็กที่ติดเชื้อเอชไอวีสามารถเติบโตเพื่อมีชีวิตที่ยืนยาวและมีชีวิตที่สมบูรณ์ได้นะคะ สาเหตุของการติดเชื้อ เด็กส่วนใหญ่ที่ติดเชื้อเอชไอวีได้รับเชื้อนี้จากมารดาเมื่อตั้งครรภ์ ระหว่างคลอดบุตร หรือจากการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่ หากพบว่าผลเป็นบวกหลังจากการตรวจและรีบรักษาต่อทันที โอกาสแพร่เชื้อไวรัสไปยังทารกลดลงอย่างมาก…

คู่มือใช้ชุดทดสอบ COVID-19

คู่มือพ่อแม่สำหรับ “ทดสอบ COVID-19” เองที่บ้าน

by

คู่มือพ่อแม่สำหรับ “ทดสอบ COVID-19” เองที่บ้าน ตั้งแต่การทดสอบแอนติเจนไปจนถึงชุดตรวจด้วยตัวเอง การ “ทดสอบ COVID-19” ที่บ้านสามารถเป็นเครื่องมือที่ทรงพลังสำหรับพ่อแม่ผู้ปกครอง เราได้รวบรวมวิธีใช้งานตามขั้นตอนมาไว้แล้วที่นี่ และมาดูกันว่าคุณสามารถเชื่อถือได้ในผลลัพธ์ของการทดสอบหรือไม่ คุณอาจเคยเห็นชุดตรวจ COVID-19 ด้วยตัวเองที่บ้าน ซึ่งมักเรียกว่า ‘Rapid test’ ตามร้านขายยาใกล้บ้านคุณ พวกมันสามารถตรวจพบการติดเชื้อไวรัสโคโรนาได้โดยไม่ต้องไปทดสอบ PCR กับแพทย์ แต่เราจะใช้ชุดตรวจเหล่านี้เองอย่างไร และคุณสามารถเชื่อถือผลลัพธ์สำหรับเด็กได้อย่างไร นี่คือทุกสิ่งที่พ่อแม่ผู้ปกครองจำเป็นต้องรู้…

แบรนด์วิตามินซีชั้นนำ

5 “แบรนด์วิตามินซี” สำหรับคุณแม่ต้าน Covid-19

by

5 “แบรนด์วิตามินซี” สำหรับคุณแม่ต้าน Covid-19 ด้วยสถานการณ์โควิดที่ยังไม่มีทีท่าว่าจะดีขึ้น ทำให้ผู้คนเริ่มกลับมาตั้งคำถามกับตัวเองว่าเราจะอยู่รอดกันอย่างไรในช่วงเวลาแบบนี้ การสวมหน้ากากอนามัยและพกเจลแอลกอฮอล์คงไม่เพียงพอที่จะป้องกันเชื้อโควิดได้ ดังนั้นการดูแลตัวเองจึงเป็นสิ่งที่สำคัญมาก ๆ และการที่เราจะดูแลตัวเองให้แข็งแรงนั้น จึงจำเป็นอย่างยิ่งคือเราต้องสร้างภูมิคุ้มกันที่ดี เพราะเป็นจุดสำคัญในการป้องกันเชื้อโรคต่าง ๆ เข้าไปในร่างกาย อย่างในประเทศมาเลเซียมีที่เคสการติดเชื้อเพิ่มขึ้นทุก ๆ วัน ทำให้แพทย์และผู้เชียวชาญด้านสุขภาพหลายคนแนะนำการทานอาหารที่มีประโยชน์และหมั่นเติมสารอาหารที่ดีให้กับร่างกายอยู่เสมอ โดยเฉพาะคนชรา คนมีโรคประจำตัว คุณแม่ที่ตั้งครรภ์และให้นมลูกที่การดูแลอาหารการกินต้องมีความระมัดระวังเป็นพิเศษ  อย่างเรื่องของการกิน รวมไปถึงอาหารเสริมที่คุณแม่หลายคนกังวลว่าจะมีผลกระทบไม่ดีต่อลูกในครรภ์ จึงละเลยการทานอาหารเสริมไป…

เด็กกทม.วัคซีนโควิดเข็มแรก

นักเรียนกลุ่มเสี่ยงในกทม.เตรียมรับ “วัคซีนโควิดเข็มแรก” 21 ก.ย.นี้

by

นักเรียนกลุ่มเสี่ยงในกทม.เตรียมรับ “วัคซีนโควิดเข็มแรก” 21 ก.ย.นี้ ประเทศต่าง ๆ ส่วนมากยังไม่ได้เริ่มฉีด “วัคซีนโควิดเข็มแรก” ให้กับกลุ่มประชากรเด็กและวัยรุ่นกันมากเท่าไหร่นักนะคะ ซึ่งไทยเราก็เช่นกัน แต่ล่าสุดก็มีข่าวดีสำหรับเด็ก ๆ กลุ่มเสี่ยงในกทม.ค่ะ ว่าสามารถรับวัคซีนได้แล้วในวันที่ 21 ก.ย.นี้ ส่วนรายละเอียดและเงื่อนไขต่าง ๆ จะเป็นอย่างไรบ้างนั้น เราไปติดตามด้วยกันเลยค่ะ เมื่อ 7 กันยายน ที่ผ่านมา…

เชื้อกลายพันธุ์มิว

พบเชื้อโควิดกลายพันธุ์ “มิว” แล้วอย่างน้อย 39 ประเทศทั่วโลก

by

พบเชื้อโควิดกลายพันธุ์ “มิว” แล้วอย่างน้อย 39 ประเทศทั่วโลก ช่วงนี้ทั่วโลกล้วนแต่กังวลกับการกลายพันธุ์ของเชื้อโควิด-19 ค่ะ เพราะล่าสุดทางองค์การอนามัยโลกก็จับตากับเชื้อกลายพันธุ์ “มิว” (Mμ) หรือสายพันธุ์ B.1.621 ที่ตรวจพบครั้งแรกในโคลอมเบีย ทวีปอเมริกาใต้ เมื่อช่วงต้นปี 2021 ที่ผ่านมา และขณะนี้มีสัดส่วนการแพร่กระจายคิดเป็น 40% ของจำนวนผู้ติดเชื้อทั้งหมดในประเทศ ซึ่งล่าสุดพบเชื้อแล้วอย่างน้อยใน 39 ประเทศทั่วโลก สถานการณ์การแพร่ระบาดนี้จัดว่าหนักหรือไม่…

โควิดสายพันธุ์ C.1.2

โควิด-19 “สายพันธุ์ C.1.2” อันตรายแค่ไหน ?

by

โควิด-19 “สายพันธุ์ C.1.2” อันตรายแค่ไหน ? หลังจากที่มีข่าวการพบเชื้อไวรัสโควิด-19 “สายพันธุ์ C.1.2” ที่แอฟริกาใต้ ซึ่งเป็นสายพันธุ์ใหม่ที่เกิดมาจากการกลายพันธุ์หลายครั้ง ทั่วโลกจึงเกิดความวิตกกังวลว่าไวรัสสายพันธุ์ใหม่นี้จะแพร่เข้ามายังประเทศของตนหรือยัง เรามาติดตามความคืบหน้ากันค่ะ อันตรายแค่ไหน ? สำนักข่าวรอยเตอร์รายงานเมื่อ 30 ส.ค. ที่ผ่านมาว่า สถาบันแห่งชาติโรคติดต่อแห่งชาติแอฟริกาใต้ (NICD) เปิดเผยว่า C.1.2 ถูกพบครั้งแรกในเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา ที่จังหวัด…