นมผงสำหรับเด็ก

นมจากเต้า VS นมผง

เรื่องน่ารู้ของเหล่าคุณแม่ กับคุณประโยชน์ที่ต่างกันของ “นมจากเต้า VS นมผง”

by

เรื่องน่ารู้ของเหล่าคุณแม่ กับคุณประโยชน์ที่ต่างกันของ “นมจากเต้า VS นมผง” เป็นเรื่องที่รู้กันมานานในกลุ่มคนที่กำลังสร้างครอบครัวและเหล่าคุณแม่ ถึงเรื่องของการให้นมลูก ตั้งแต่ในวัยแรกเกิดจนเป็นทารก ว่าการให้นมในรูปแบบใดที่จะส่งผลดีต่อสุขภาพของลูกน้อยมากที่สุด รวมทั้งความเชื่อผิด ๆ เกี่ยวกับการให้ลูกกินนมแม่ จะมีรายละเอียดอย่างไรบ้าง วันนี้ rabbit finance จะขอนำมาแบ่งปันให้ฟังกัน น้ำนมจากอกแม่ กับความเชื่อที่ผิด คุณแม่มือใหม่และไม่ใหม่หลาย ๆ ท่าน อาจมีความเชื่อผิด ๆ…

น้ำที่ใช้ชงนมให้ลูกแบบไหนดี

น้ำที่ใช้ชงนมให้ลูก น้ำแบบไหนที่ใช้ได้

by

น้ำที่ใช้ชงนมให้ลูก น้ำแบบไหนที่ใช้ได้ คุณได้เลือกนมสูตรที่เหมาะกับลูกรัก พร้อมทั้งเตรียมขวดนมไว้มากมาย การให้นมผงแก่ลูกของคุณดูค่อนข้างง่าย แต่ “น้ำที่ใช้ชงนมให้ลูก” ละ เราควรจะใช้น้ำแบบไหนมาชงนมเหล่านี้ จะใช้น้ำประปาได้หรือไม่ แล้วน้ำประปาดื่มได้จริงหรือเปล่า น้ำบรรจุขวดแบบไหนถึงจะดีต่อลูกน้อยของคุณ มาติดตามข้อมูลของเราเพื่อคลายความสงสัยกันค่ะ ข่าวดีก็คือคุณสามารถใช้น้ำประปาหรือน้ำดื่มบรรจุขวดเพื่อชงนมให้กับลูกน้อยได้ แต่คุณอาจจะไม่สามารถใช้น้ำโดยตรงจากก๊อกหรือเลือกใช้น้ำขวดใดก็ได้ คุณต้องเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านการต้มน้ำและรู้เกี่ยวกับสิ่งที่คุณไม่เคยคิดมาก่อน เช่น ฟลูออไรด์ในน้ำที่เลือกมีปริมาณเท่าใด ไม่ต้องกังวลจนเกินเหตุ เพราะน้ำดื่มมีความปลอดภัยในเกือบทุกประเทศ และเมื่อคุณได้ลองผสมนมผงของลูกน้อยแล้วละก็ คุณจะพบว่ามันทำได้ง่ายมาก คุณสามารถทำได้แม้ยังสะลึมสะลือด้วยซ้ำ (และหลายครั้งมันก็เป็นแบบนั้นจริง…

สิ่งที่ต้องรู้กับนมผงสำหรับเด็ก

นมผงสำหรับเด็ก มีวิธีการให้ยังไงบ้าง?

by

นมผงสำหรับเด็ก มีวิธีการให้ยังไงบ้าง? หลังจากที่ลูกน้อยของคุณโตพอที่จะเริ่มให้เขากิน “นมผงสำหรับเด็ก” จากขวดนมได้แล้ว พ่อแม่มือใหม่บางท่านอาจจะยังไม่แน่ใจว่าการเตรียมการในแต่ละขั้นตอนต้องเป็นอย่างไรบ้าง การทำความสะอาดอุปกรณ์ที่ใช้งาน หรือแม้แต่ควรให้เขานอนกินนมแบบไหน วันนี้ Motherhood นำเอาความรู้เกี่ยวกับการเริ่มต้นให้นมผงกันค่ะ ต้องแน่ใจว่าขวดนม จุกนม และอุปกรณ์อย่างอื่นสะอาดพอ เพราะน้ำที่เราใช้ภายในครัวเรือนนั้นใส่คลอรีนมาด้วย ให้คุณทำความสะอาดอุปกรณ์ในน้ำร้อนด้วยน้ำยาล้างขวดนม แล้วล้างด้วยน้ำร้อนซ้ำอีกรอบ แต่หากที่บ้านคุณไม่ได้ใช้น้ำประปาที่มีคลอรีนหรือใช้น้ำจากบ่อ ให้คุณวางอุปกรณ์ลงในน้ำเดือดเป็นเวลา 5-10 นาที หรือจะใช้กระบวนการที่เรียกว่า Terminal heating…