ภาวะเพศกำกวม

ลูกเป็นคนเพศกำกวม

นี่คือสิ่งที่ต้องรู้กับการมีลูกเป็น “คนเพศกำกวม”

by

นี่คือสิ่งที่ต้องรู้กับการมีลูกเป็น “คนเพศกำกวม” อาจเป็นเรื่องน่ากลัวสำหรับพ่อแม่มือใหม่ที่จะได้ยินสิ่งที่ไม่คาดคิดจากแพทย์เมื่อลูกเกิด แต่ลักษณะทางเพศเกิดขึ้นตามธรรมชาติ และไม่ใช่โรคหรือภาวะที่ส่งผลต่อสุขภาพร่างกายของทารก เมื่อทารกเกิดมา พวกเขาจะถูกกำหนดเพศทางชีววิทยา ไม่ว่าจะเป็นชายหรือหญิง โดยพิจารณาจากอวัยวะเพศของพวกเขา คุณอาจได้รู้ถึงเพศของทารกก่อนคลอดในลักษณะเดียวกัน ถ้าไม่มีอะไรโผล่มาที่ระหว่างขา ‘ยินดีด้วย คุณได้ลูกสาวจ้า’ แต่จริง ๆ แล้วมันอาจจะซับซ้อนกว่านั้นเล็กน้อย บางครั้ง ทารกอาจมีอวัยวะเพศที่มีลักษณะเฉพาะของเพศชายและลักษณะเฉพาะของเพศหญิง และลึกกว่ารูปลักษณ์ภายนอก บางคนเกิดมาพร้อมกับลักษณะทางชีววิทยาของเพศชายและเพศหญิง (เช่น มดลูกและอัณฑะ) ที่ไม่สามารถมองเห็นได้จากภายนอก เมื่อบุคคลไม่ตรงกับการกำหนดเพศ…

intersex คืออะไร

Intersex – เพศกำกวม ผ่าตัดแก้ไขให้ลูกดีไหม?

by

Intersex – เพศกำกวม ผ่าตัดแก้ไขให้ลูกดีไหม? ขณะนี้ที่ประเทศอินเดีย รัฐทมิฬนาฑูได้มีการออกกฎหมายเพื่อห้ามมิให้พ่อแม่ผ่าตัดเลือกเพศให้ทารก ในทารกที่เป็น “Intersex” หรือที่เรียกในภาษาไทยได้ว่าภาวะเพศกำกวม ซึ่งทำให้อินเดียกลายเป็นประเทศแรกในทวีปเอเชียและเป็นประเทศที่สองของโลกที่มีการออกกฎหมายตัวนี้ขึ้นมา และในประเทศไทยเองมีอัตราของภาวะกำกวมพบได้ในเด็กแรกคลอดประมาณ 1 ต่อ 4,500 ราย อ่านมาถึงตรงนี้ คิดว่าน่าจะยังมีคุณพ่อคุณแม่หลายท่านไม่เข้าใจว่าอะไรคือภาวะเพศกำกวม แล้วพ่อแม่ที่มีลูกเป็นภาวะนี้จะต้องให้ลูกผ่าตัดเลือกเพศไปทำไม จำเป็นแค่ไหนที่จะต้องผ่าตัด แล้วทำไมรัฐถึงต้องเข้ามายุ่งเกี่ยวโดยการออกกฎหมายห้ามด้วย วันนี้ Motherhood จะนำเอาเรื่องราวจากชีวิตจริงของบุคคลที่มีภาวะเพศกำกวมมาให้ได้รับรู้กันค่ะ Intersex…