โรคติดต่อ

วัคซีนโควิดสายพันธุ์อินเดีย

วิจัยแล้ว “โควิดสายพันธุ์อินเดีย” เอาอยู่ด้วยวัคซีนไฟเซอร์-แอสตร้าเซนเนก้า

by

วิจัยแล้ว “โควิดสายพันธุ์อินเดีย” เอาอยู่ด้วยวัคซีนไฟเซอร์-แอสตร้าเซนเนก้า ตอนนี้ COVID-19 เข้ามาไทยครบทุกสายพันธุ์แล้วนะคะ แต่สายพันธุ์ที่คนไทยน่าจะกังวลมากที่สุดก็หนีไม่พ้น “โควิดสายพันธุ์อินเดีย” นี่ละค่ะ แต่ไม่ต้องกังวลไป เพราะล่าสุดนักวิจัยจากอังกฤษได้ยืนยันแล้วว่าวัคซีนของไฟเซอร์และแอสตร้าเซนเนก้า มีประสิทธิภาพดีมากพอที่จะต้านเชื้อ COVID-19 สายพันธุ์อินเดียได้แน่นอนค่ะ เรามาติดตามความคืบหน้าของงานวิจัยชิ้นนี้กัน สาธารณสุขของอังกฤษเผยผลการศึกษาวิจัยประสิทธิภาพของวัคซีน COVID-19 จากไฟเซอร์และแอสตร้าเซนเนก้า ว่ามีประสิทธิภาพสูงในการต้านเชื้อไวรัส COVID-19 สายพันธุ์จากอินเดีย หลังจากที่ผู้รับวัคซีนได้รับวัคซีนโดสที่ 2 ไปแล้ว…

พบไวรัสโคโรนาในสุนัข

พบ “ไวรัสโคโรนาในสุนัข” สายพันธุ์แรกที่ติดเชื้อสู่คนได้

by

พบ “ไวรัสโคโรนาในสุนัข” สายพันธุ์แรกที่ติดเชื้อสู่คนได้ นักวิทยาศาสตร์ตรวจพบ “ไวรัสโคโรนาในสุนัข” แต่กลับทำให้มนุษย์ติดเชื้อได้ที่ประเทศมาเลเซีย ซึ่งถือเป็นไวรัสโคโรนาในสุนัข (Canine Coronavirus) สายพันธุ์แรกที่ติดเชื้อได้ในมนุษย์ เรามาติดตามความคืบหน้าของการค้นพบนี้ด้วยกันค่ะ ไวรัสโคโรนาที่สามารถแพร่จากสุนัขสู่มนุษย์ ไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ CCov-HuPn-2018 เป็นไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ที่นักวิทยาศาสตร์พบการติดเชื้อในสุนัข โดยล่าสุด วารสารทางการแพทย์ด้านโรคติดต่อ Clinical Infectious Diseases พบว่า ไวรัสโคโรนาสายพันธุ์นี้สามารถข้ามไปติดเชื้อในมนุษย์ได้ หลังพบผู้ป่วยโรคปอดบวมอย่างน้อย 1…

วัคซีนไฟเซอร์ได้ผลที่สุด

ฉีด “วัคซีนไฟเซอร์” ครบโดส ลดการติดเชื้อ ลดการตายมากกว่า 95%

by

ฉีด “วัคซีนไฟเซอร์” ครบโดส ลดการติดเชื้อ ลดการตายมากกว่า 95% เป็นที่ถกเถียงกันมาพักใหญ่ว่าวัคซีนต้าน COVID-19 ตัวไหนแน่ที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด ล่าสุดมีหลักฐานจากประเทศอิสราเอลสนับสนุนว่า “วัคซีนไฟเซอร์” นั้น เมื่อฉีดครบ 2 โดส จะมีประสิทธิภาพในการป้องกันการติดเชื้อ การเข้าโรงพยาบาล และการเสียชีวิตมากกว่า 95% เลยทีเดียว เรามาติดตามความคืบหน้านี้กันต่อค่ะ งานวิจัยตัวดังกล่าวระบุว่า วัคซีนไฟเซอร์จะกระตุ้นภูมิคุ้มกันได้ดีที่สุดในช่วง 7…

พ่อแม่ป่วยแต่ยังต้องดูแลลูกน้อย

เมื่อ “พ่อแม่ป่วย” แต่ยังต้องดูแลทารกแรกเกิด

by

เมื่อ “พ่อแม่ป่วย” แต่ยังต้องดูแลทารกแรกเกิด คุณอาจคาดไม่ถึงว่าเมื่อคุณป่วย แต่คุณก็ยังคงต้องดูแลทารกแรกเกิดที่บ้าน รู้ไหมคะ เมื่อ “พ่อแม่ป่วย” สิ่งสำคัญที่คุณต้องใส่ใจก่อนอื่นเลยก็คือสุขภาพของตัวเอง ไม่ว่าคุณจะตื่นขึ้นมาโดยรู้สึกเหมือนโรคกำลังรุมเร้าหรืออาการคันในลำคอของคุณกำลังก่อตัวขึ้น เมื่อโชคไม่เข้าข้างคุณ เรามีเคล็ดลับที่จะช่วยให้คุณจัดการ (และฟื้นตัว) เมื่อคุณป่วยแต่ยังคงต้องดูแลทารกน้อยของคุณ 1. ระบุอาการให้ชัดเจนก่อน: โทรหาแพทย์ของคุณ หากย้อนไปก่อนที่คุณจะมีเจ้าตัวน้อย คุณอาจจะไม่สนใจที่จะปรึกษาแพทย์ เมื่อคุณเพียงแค่รู้สึกฟืดฟาดหรือปวดเมื่อยเนื้อตัวเล็ก ๆ น้อย ๆ แต่เมื่อคุณมีเบบี๋แล้ว…

ยาเม็ดรักษา covid-19 จาก Pfizer

ยาเม็ดรักษา COVID-19 จาก Pfizer อาจผลิตสำเร็จภายในปีนี้

by

ยาเม็ดรักษา COVID-19 จาก Pfizer อาจผลิตสำเร็จภายในปีนี้ นับจากนี้ วัคซีนอาจไม่ได้เป็นทางเลือกเดียวในการป้องกัน COVID-19 เพราะทาง Pfizer ได้ซุ่มทดสอบ “ยาเม็ดรักษา COVID-19” ในระยะแรกแล้ว ซึ่งพวกเขาหวังว่ายาตัวนี้จะถูกผลิตออกมาเพื่อใช้รักษาผู้ป่วยได้ทันภายในปีนี้ เรามาติดตามความคืบหน้าของความหวังใหม่แห่งมนุษยชาติกันค่ะ มีรายงานว่า ฐานของ Pfizer ทั้งในสหรัฐฯ และเบลเยียม ได้เริ่มทดสอบยาเม็ดรักษา COVID-19 ในระยะแรกแล้ว…

ภาวะกล่องเสียงและหลอดลมอักเสบในเด็ก

ภาวะกล่องเสียงและหลอดลมอักเสบ เป็นโรคติดต่อหรือเปล่า ?

by

ภาวะกล่องเสียงและหลอดลมอักเสบ เป็นโรคติดต่อหรือเปล่า ? มีโรคและการติดเชื้ออยู่มากมายที่พ่อแม่มักกังวลว่าจะเกิดขึ้นกับลูกของเรา “ภาวะกล่องเสียงและหลอดลมอักเสบ” หรือโรคครูป ก็เป็นหนึ่งในนั้น ผู้ใหญ่มักกังวลกันว่ามันอาจจะแพร่เชื้อจากผู้ใหญ่ไปสู่เด็กได้ แต่มันเป็นเช่นนั้นจริงหรือเปล่า และถ้าจริง เราจะสามารถป้องกันได้อย่างไร มาติดตามหาคำตอบในบทความวันนี้ได้เลยค่ะ ภาวะกล่องเสียงและหลอดลมอักเสบคืออะไร ? ภาวะกล่องเสียงและหลอดลมอักเสบ (Laryngotracheobronchitis) หรือโรคครูป (Croup) เป็นโรคติดเชื้อไวรัสที่มีผลต่อส่วนบนของทางเดินหายใจ รวมถึงกล่องเสียงและหลอดลม พบได้บ่อยในเด็กเล็กที่มีอายุระหว่าง 6 เดือนถึง 3…

ฉีดซิโนแวคแล้วเป็นอัมพฤกษ์

เป็นอัมพฤกษ์ไป 6 ราย หลัง “ฉีดซิโนแวค”

by

เป็นอัมพฤกษ์ไป 6 ราย หลัง “ฉีดซิโนแวค” หลังจากที่ประเทศไทยได้เริ่มทำการ “ฉีดซิโนแวค” เพื่อป้องกัน Covid-19 ให้กับบุคลากรทางการแพทย์แล้วนั้น รายงานล่าสุดพบว่ามีบุคลากรทางการแพทย์จำนวนหนึ่งในจังหวัดระยองเป็นอัมพฤกษ์ ทั้ง ๆ ที่บางรายก็ไม่ได้มีโรคประจำตัวหรือแพ้ยาแต่อย่างใด และบางรายเพิ่งมีอายุ 21 ปีเท่านั้นเอง เมื่อวันที่ 20 เมษายน ภายหลังจากที่ นพ.ธีระวัฒน์ เหมะจุฑา หัวหน้าศูนย์วิทยาศาสตร์สุขภาพโรคอุบัติใหม่ คณะแพทยศาสตร์…

Covid-19 กระทบ E-commerce ยังไงบ้าง

iPrice รายงาน Covid-19 กระทบ E-commerce SEA ‘มาก’ หรือ ‘น้อย’ แค่ไหนในปี 2020!

by

iPrice รายงาน Covid-19 กระทบ E-commerce SEA ‘มาก’ หรือ ‘น้อย’ แค่ไหนในปี 2020! เรียกได้ว่าเป็นวิกฤตการณ์ร้ายแรงระดับโลกที่ไม่เคยมีใครคาดคิดว่ามันจะเกิดขึ้นมาก่อน สำหรับการแพร่ระบาดของ Covid-19 หรือไวรัสโคโรน่า แรกเริ่มต้นปี 2020 ที่มีการแพร่ระบาดในจีนหลายประเทศก็ได้แต่เฝ้าภาวนาให้มันลดน้อยลง และจางหายไปเหมือนไวรัสร้ายแรงต่าง ๆ ที่เราต่างก็เคยรับมือกันมาได้ มิคาดว่า Covid-19 จะอยู่กับเรานานกว่าที่คิดล่วงมาถึงปีที่…

เมื่อแม่ท้องรับวัคซีน covid-19

แม่ท้องรับวัคซีน Covid-19 สามารถส่งต่อภูมิต้านทานให้แก่ทารกในครรภ์

by

แม่ท้องรับวัคซีน COVID-19 สามารถส่งต่อภูมิต้านทานให้แก่ทารกในครรภ์ ความหวังที่จะป้องกันโรค COVID-19 ในระยะยาวเริ่มปรากฎให้เห็นราง ๆ เมื่อแพทย์สหรัฐฯ พบว่า “แม่ที่รับวัคซีน COVID-19” สามารถส่งต่อภูมิต้านทานโรคให้แก่ทารกในครรภ์ที่เพิ่งเกิดใหม่ได้ เรามาติดตามความคืบหน้าของการค้นพบนี้กันค่ะ การค้นพบทางการแพทย์ในครั้งนี้ เกิดขึ้นที่มลรัฐฟลอริดา สหรัฐฯ หลังจากที่หญิงคนหนึ่งคลอดทารกเพศหญิงออกมา ซึ่งทำให้ลูกสาวของเธอกลายเป็นทารกที่มีภูมิต้านทาน COVID-19 มาโดยกำเนิด ทีมแพทย์ได้ทำการสอบประวัติแม่ของเด็กจนได้ทราบว่า เธอเคยฉีดวัคซีน COVID-19 เข็มแรกของ…

ระงับฉีดวัคซีน AstraZeneca

วัคซีน AstraZeneca ถูกระงับการฉีดแล้วใน 12 ประเทศทั่วโลก

by

วัคซีน AstraZeneca ถูกระงับการฉีดแล้วใน 12 ประเทศทั่วโลก แม้ว่าจะมีการระงับใช้ “วัคซีน AstraZeneca” ในประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก หลังพบอาการลิ่มเลือดในผู้รับวัคซีน เมื่อช่วงเช้าของวันนี้ (16 มีนาคม) ที่ประเทศไทยเรา นายกรัฐมนตรีพร้อมด้วยคณะรัฐมนตรีบางส่วนได้เข้ารับการฉีดวัคซีนป้องกัน COVID-19 ของบริษัทแอสตราเซเนกา (AstraZeneca) หลังจากที่ก่อนหน้านี้ได้เลื่อนออกไป เพราะมีข่าวว่าพบผู้ฉีดวัคซีนบางรายเกิดอาการลิ่มเลือดอุดตัน และเสียชีวิตในเวลาต่อมา ความคืบหน้าของผลข้างเคียงจากการฉีดวัคซีนตัวดังกล่าวจะเป็นอย่างไร…