กระดูก

ทารกคอแข็งเมื่อไหร่

“ทารกคอแข็ง” ตอนกี่เดือน ?

by

“ทารกคอแข็ง” ตอนกี่เดือน ? หากคุณเคยได้อุ้มทารกแรกเกิด คุณจะรู้ว่าการคอยพยุงศีรษะเขาไว้มีความสำคัญเพียงใด เพราะช่วง 2-3 เดือนแรกที่ทารกยังไม่สามารถควบคุมกล้ามเนื้อคอได้ อาจเป็นช่วงเวลาที่ค่อนข้างกังวล โดยเฉพาะอย่างยิ่งสำหรับสมาชิกในครอบครัวที่อาจไม่คุ้นเคยกับการอุ้มเด็กแรกเกิด แต่ไม่ต้องเป็นกังวลไป อีกไม่นาน ทารกจะรู้สึกสบายขึ้นละพยุงศีรษะของตัวเองอย่างมั่นใจ แต่เช่นเดียวกับหลาย ๆ อย่าง ทารกทุกคนจะมีพัฒนาการในแต่ละระยะ หากคุณสงสัยว่าเมื่อไหร่ที่ลูกน้อยของคุณจะคอแข็งและเงยคอขึ้นได้ เรามีคำแนะนำเกี่ยวกับเวลาที่ทารกจะคอแข็งขึ้นและเริ่มเชิดคอขึ้นได้เอง และวิธีที่คุณสามารถกระตุ้นให้พวกเขาก้าวไปสู่พัฒนาการที่ยิ่งใหญ่นี้ได้ เมื่อไหร่ที่ทารกจะเงยหน้าขึ้นได้ ? เมื่ออายุได้ประมาณ 3…

รู้จักโรคกระดูกสันหลังคดในเด็ก

ทำความรู้จักกับ “โรคกระดูกสันหลังคดในเด็ก”

by

ทำความรู้จักกับ “โรคกระดูกสันหลังคดในเด็ก” ลูกของคุณอาจจะเป็น “โรคกระดูกสันหลังคดในเด็ก” อยู่ก็ได้ แต่ที่คุณไม่เอะใจสงสัย นั่นเป็นเพราะหากเด็กเป็นไม่มากก็จะไม่มีอาการแสดงให้เห็น โรคกระดูกสันหลังคดนี้สามารถพบได้ตั้งแต่เด็กวัยแรกเกิดไปจนถึงเด็กวัยรุ่น และมากถึงร้อยละ 80 ทีเดียวที่ไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด นอกากนี้ยังมีงานวิจัยที่บ่งชี้ว่าเด็กไทยเป็นโรคนี้ ในอัตรา 1 ต่อ 10,000 คน วันนี้ Motherhood จะมาชวนคุณทำความรู้จักกับโรคนี้กันให้มากขึ้นนะคะ โรคกระดูกสันหลังคดในเด็ก (Scoliosis) พบได้ในเด็กผู้หญิงมากกว่าเด็กผู้ชายประมาณ 8…

ลูกแขนคอก

ลูกเราเป็น “แขนคอก” รึเปล่านะ ?

by

ลูกเราเป็น “แขนคอก” รึเปล่านะ ? เด็กบางคนอาจจะมีกระดูกแขนช่วงเหนือข้อศอกที่บิดออก คนเป็นพ่อแม่ก็คงกังวลอยู้ไม่น้อย อาการแบบนี้ใช่ “แขนคอก” หรือเปล่า ? โตไปจะหายเองได้ไหม ? หรือจะต้องรักษาอย่างไรถึงจะดีขึ้น กลัวว่าลูกจะมีปมด้อย ถ้าอย่างนั้นวันนี้เรามาทำความเข้าใจในเรื่องนี้กันค่ะ แขนคอกเป็นอย่างไร ? แขนโก่งในลักษณะที่มุมข้อศอกชี้ออกไปทางข้างตัว อาการเช่นนี้อาจจะเกิดหลังจากผู้ป่วยรับการรักษากระดูกแขนหักเหนือศอก เมื่อกระดูกติดดีแล้วความพิการอาจยังเหลือให้เห็น เป็นความเจ็บป่วยหรืออุบัติเหตุกันแน่ ? ความจริงแล้วเกิดได้จากหลายสาเหตุ ได้แก่…

เด็กนั่งท่า w-sitting

“นั่งท่า W-sitting” ไม่อันตรายกับเด็กอย่างที่คิด

by

“นั่งท่า W-sitting” ไม่อันตรายกับเด็กอย่างที่คิด เรื่องของความอันตรายจากการ “นั่งท่า W-sitting” ของเด็ก ๆ เป็นกระแสที่ได้รับความสนใจจากผู้ปกครองในทุก ๆ ที่ หากคุณกำลังเป็นกังวลว่าการนั่งแบบนั้นของลูกจะส่งผลเสียอะไรกับเขาหรือเปล่า ไม่ว่าจะในเรื่องกระดูกหรือพัฒนาการทางการเคลื่อนไหว Motherhood อยากให้คุณได้อ่านบทความนี้ ก่อนที่จะคิดเปลี่ยนแปลงอะไรค่ะ คุณคงเคยเห็นเด็กเล็ก ๆ นั่งท่า ‘W’ กันมาบ้างแล้วใช่มั้ยคะ เรื่องมีอยู่ว่าการนั่งในท่านี้ที่อายุต่ำกว่า 2 ขวบมีแนวโน้มว่าจะปลอดภัย…

ข้อสะโพกเคลื่อนในทารก

สังเกตอาการ “ข้อสะโพกเคลื่อน” ในเด็ก

by

สังเกตอาการ “ข้อสะโพกเคลื่อน” ในเด็ก เมื่อลูกน้อยเริ่มที่จะคืบหรือคลาน หากคุณพบว่าเขาคลานด้วยขาเพียงแค่ข้างเดียวหรือขาข้างหนึ่งหมุนได้มากกว่าปกติ เขาอาจมีอาการ “ข้อสะโพกเคลื่อน” อยู่ก็เป็นได้นะคะ หากคุณพบถึงความผิดปกติเช่นนี้ ต้องรีบไปปรึกษาแพทย์นะคะ ซึ่งวันนี้เราจะมาทำความรู้จักกับอาการนี้ให้ดียิ่งขึ้นค่ะ เพื่อที่คุณพ่อคุณแม่จะได้นำไปสังเกตลูกรักของคุณได้ ปัญหาข้อสะโพกเคลื่อนในทารกคืออะไร ? เมื่อลูกสะบ้าของข้อสะโพกมีขนาดที่ไม่เหมาะสมและไม่พอดีกับเบ้าสะโพก หมายความว่าข้อสะโพกจะหลวมและมีแนวโน้มที่จะได้รับบาดเจ็บ ปัญหานี้อาจนำไปสู่ความคลาดเคลื่อนของสะโพกหรือปัญหาสุขภาพอื่น ๆ ในอนาคต สาเหตุของข้อสะโพกเคลื่อนตั้งแต่กำเนิด อาการข้อสะโพกเคลื่อนตั้งแต่กำเนิดพบได้ 1 ใน 1000…

รู้จักกับ Funny bone

Funny bone คืออะไร ? นี่คือข้อเท็จจริงเกี่ยวกับมัน

by

Funny bone คืออะไร ? นี่คือข้อเท็จจริงเกี่ยวกับมัน ร่างกายของคนเรานั้นมีส่วนที่เราคิดว่าเรารู้จักมันดี แต่เอาเข้าจริงเรากลับไม่ค่อยรู้อะไรเกี่ยวกับมันเลยอยู่มากมาย อย่าง “Funny bone” คุณพ่อคุณแม่ทราบมาก่อนมั้ยคะว่ามันคือกระดูกส่วนใดในร่างกายของเราหรือของลูกรัก วันนี้ Motherhood จะพาคุณ ๆ ไปเรียนรู้และทำความเข้าใจเพิ่มเติมเกี่ยวกับกระดูกส่วนนี้ ที่มาของชื่อ สาเหตุที่ทำให้เจ็บมาก และวิธีแยกความแตกต่างจากสาเหตุอื่น ๆ ของความรู้สึกเสียวซ่าที่แขน ทำความรู้จักกับ funny bone…