สุขภาพ

ฟังเสียงหัวใจเต้น

เราจะฟัง “เสียงหัวใจเต้น” ของลูกในครรภ์ได้เมื่อไหร่ ?

by

เราจะฟัง “เสียงหัวใจเต้น” ของลูกในครรภ์ได้เมื่อไหร่ ? สำหรับครอบครัวที่มีคุณแม่ที่ตั้งครรภ์ การได้ฟัง “เสียงหัวใจเต้น” ของลูกในครรภ์เป็นครั้งแรกย่อมเป็นเรื่องที่น่าตื่นเต้นนะคะ แต่เราจะรู้ได้อย่างไรว่าเมื่อไหร่กันที่หัวใจของทารกน้อยในตัวของเราจะเริ่มเต้น และเมื่อไหร่ที่แพทย์จะช่วยให้เราได้ยินมัน ทารกมีการเต้นของหัวใจเมื่อใด ? การเต้นของหัวใจของทารกสามารถตรวจพบได้ด้วยการตรวจอัลตร้าซาวด์ทางช่องคลอด อย่างเร็วที่สุด 3-4 สัปดาห์หลังการตั้งครรภ์ หรือ 5-6 สัปดาห์หลังจากวันแรกของประจำเดือนครั้งสุดท้าย การเต้นของหัวใจของตัวอ่อนระยะแรกนี้จะเร็ว โดยมักจะเต้นประมาณ 160-180 ครั้งต่อนาที เร็วกว่าผู้ใหญ่ถึงสองเท่า…

ปัญหาผิวของทารก

5 ปัญหาผิว ที่พบบ่อยในทารก พร้อมวิธีดูแล

by

5 ปัญหาผิว ที่พบบ่อยในทารก พร้อมวิธีดูแล “ปัญหาผิว” ของทารกอาจเป็นเรื่องที่น่าตกใจสำหรับพ่อแม่มือใหม่ได้นะคะ ดังนั้น คุณควรเรียนรู้เกี่ยวกับอาการเกี่ยวกับผิวของลูกน้อยที่พบได้บ่อยที่สุด เพื่อให้คุณสามารถทราบวิธีการดูแลและรักษาผิวของเขาได้ค่ะ ผดผื่นในทารกแรกเกิดเป็นสาเหตุหนึ่งที่พบบ่อยที่สุดสำหรับการไปพบแพทย์ และพวกมันจะน่าวิตกเป็นพิเศษเมื่อปรากฏบนใบหน้าที่สวยงามของทารก แต่คุณไม่ต้องกังวล พวกมันมักจะรักษาให้หายได้ สิ่งที่สำคัญคือคุณต้องเรียนรู้ว่ามีอะไรบ้างที่ทำให้แก้มของลูกน้อยเกิดผดผื่น เพื่อที่คุณจะได้ลดเวลาในการไปพบกุมารแพทย์ลง โรคผิวหนังอักเสบและผื่นภูมิแพ้ผิวหนัง (Eczema & Atopic dermatitis) แก้มที่เป็นสีแดงของเด็กน้อยอาจดูน่ารัก แต่ก็เป็นสัญญาณของโรคผิวหนังอักเสบหรือผื่นภูมิแพ้ผิวหนังซึ่งเป็นหนึ่งในปัญหาผิวที่พบบ่อยที่สุดในทารก ทารกที่เป็นโรคผิวหนังอักเสบ มีปัญหาในการกักเก็บความชุ่มชื้น…

ค้นพบโรค Disease X

ค้นพบ “Disease X” ที่คองโก ระบาดเร็วยิ่งกว่า Covid-19

by

ค้นพบ “Disease X” ที่คองโก ระบาดเร็วยิ่งกว่า Covid-19 เริ่มต้นปี 2021 มาไม่ทันไร โลกเราก็ต้องพบเจอกับโรคใหม่ “Disease X” ที่สร้างความท้าทายให้กับกลุ่มนักวิทยาศาสตร์และผู้เชี่ยวชาญเป็นอันมาก โรคที่เราค้นพบใหม่นี้คืออะไร ผู้ติดเชื้อจะมีอาการเช่นไร เรามาติดตามรายละเอียดกันค่ะ ในช่วงปลายปี 2020 ที่สาธารณรัฐประชาธิปไตยคองโก มีหญิงสาวรายหนึ่งซึ่งมีอาการคล้ายโรคอีโบล่า เธอถูกนำไปตรวจและได้ผลลัพธ์ที่น่าตกใจคือเธอไม่ได้ป่วยเป็นโรคอีโบล่า ทุกคนจึงเกิดคำถามว่าแล้วมันคือโรคอะไรกันแน่ หรือเธอจะป่วยเป็นโรคชนิดใหม่ Disease…

ดูแลผิวทารก

สิ่งที่พ่อแม่ควรรู้ เมื่อจะดูแล “ผิวทารก”

by

สิ่งที่พ่อแม่ควรรู้ เมื่อจะดูแล “ผิวทารก” เมื่อทารกน้อยออกมาลืมตาดูโลก สิ่งหนึ่งที่คุณพ่อคุณแม่ต้องเรียนรู้ก็คือ วิธีดูแล “ผิวของทารก” เพื่อปกป้องพวกเขาจากความรู้สึกไม่สบายผิว ผดผื่น โรคผิวหนัง และปัญหาอื่น ๆ ที่อาจเกิดขึ้นได้ในภายหลัง เป็นความจริงที่ว่าเด็ก ๆ ไม่ได้เกิดมาพร้อมกับคู่มือ ดังนั้นหากคุณมีทารกแรกเกิดอยู่ที่บ้าน และสงสัยว่าจะต้องเริ่มจากตรงไหนในการดูแลความต้องการของพวกเขา ขอให้รู้ไว้ว่าคุณไม่ได้โดดเดี่ยวอย่างแน่นอน โชคดีที่มีสกิลพื้นฐานง่าย ๆ ที่ง่ายพอที่จะคุณจะฝึกมันจนเชี่ยวชาญภายในระยะเวลาที่กำหนด นี่คือสิ่งที่คุณต้องรู้ เมื่อต้องอาบน้ำ…

พบไมโครพลาสติกในรก

พบ “ไมโครพลาสติก” ในรกเด็ก ส่งต่อได้จากแม่สู่ลูก

by

พบ “ไมโครพลาสติก” ในรกเด็ก ส่งต่อได้จากแม่สู่ลูก ล่าสุดมีงานวิจัยชิ้นหนึ่งพบว่ามี “ไมโครพลาสติก” อยู่ในรกเด็กตั้งแต่อยู่ในครรภ์ โดยพลาสติกดังกล่าวเป็นชนิด Polypropylene และเม็ดสีต่าง ๆ ที่เราสามารถพบได้ในบรรจุภัณฑ์ทั่วไป ทำให้คนเป็นพ่อเป็นแม่และครอบครัวที่กำลังวางแผนตั้งครรภ์ต่างพากันกังวลถึงสุขภาพของทารกน้อยและคุณแม่กันยกใหญ่ เรามาติดตามความคืบหน้าของงานวิจัยตัวนี้กันค่ะ ว่าไมโครพลาสติกที่พบนั้นส่งผลเสียต่อทารกในครรภ์ในรูปแบบใดบ้าง งานวิจัยล่าสุดที่ตีพิมพ์ในวารสาร Environment International ศึกษาโดย Antonio Ragusa สูตินรีเวชของโรงพยาบาลในกรุงโรม รายงานว่าได้พบไมโครพลาสติกในรกเด็กตั้งแต่อยู่ในครรภ์ โดยพลาสติกดังกล่าวเป็นพลาสติกชนิด…

คนท้องรับวัคซีนโควิด-19 ได้มั้ย

คนท้องรับวัคซีนโควิด-19 ได้มั้ย ?

by

คนท้องรับวัคซีนโควิด-19 ได้มั้ย ? ท่ามกลางกระแสการอัพเดทของวัคซีนโควิด-19 ที่มีขึ้นทั่วโลก มีอีกคำถามหนึ่งที่ผู้คนยังคงสงสัยกันก็คือ “คนท้องรับวัคซีนโควิด-19 ได้มั้ย” หากว่าแม่ตั้งครรภ์มีความกังวลเรื่องการรับเชื้อ พวกเธอจะสามารถเข้ารับการฉีดวัคซีนโควิด-19 เพื่อเป็นการป้องกันโรคไว้ก่อนได้หรือไม่ จะส่งผลกระทบอย่างไรต่อทารกในครรภ์หรือเปล่า วันนี้ Motherhood นำเอารายละเอียดมาฝากกันค่ะ ขณะนี้หลายประเทศได้เริ่มมีการทดลองฉีดวัคซีนป้องกันโควิด-19 ให้กับประชาชนกันบ้างแล้ว และเป็นที่ชัดเจนว่าไม่ใช่ทุกคนที่จะรับการฉีดวัคซีนเหล่านี้ได้ อย่างเช่นคนที่กำลังตั้งครรภ์หรือแม่ที่อยู่ในช่วงให้นมลูก แต่การที่กลุ่มคนเหล่านี้จะได้รับวัคซีนนั้นยังขึ้นอยู่กับว่าพวกเขาอาศัยอยู่ที่ใดด้วย การทดลองทางการแพทย์สำหรับวัคซีนของบริษัทไฟเซอร์-ไบออนเทค (Pfizer-BioNTech) ไม่ได้มีการทดลองในคนที่กำลังตั้งครรภ์หรือผู้หญิงที่ให้นมลูก ทางบริษัทเคยระบุว่าข้อมูลเท่าที่มีอยู่ยังไม่เพียงพอ…

COVID-19 สายพันธ์ุใหม่ในอังกฤษ

Covid-19 สายพันธ์ุใหม่ ติดเชื้อง่ายขึ้น ระบาดแล้วในอังกฤษ

by

Covid-19 สายพันธ์ุใหม่ ติดเชื้อง่ายขึ้น ระบาดแล้วในอังกฤษ สถานการณ์การแพร่ระบาดของ Covid-19 ในประเทศไทยยังคงน่าเป็นห่วง แต่ที่อังกฤษนั้นกลับพบว่ามี “Covid-19 สายพันธ์ุใหม่” เกิดขึ้น ซึ่งทำให้ผู้คนติดเชื้อได้ง่ายกว่าเดิม ในขณะที่ความรุนแรงของโรคยังคงมีเท่าเดิม การแพร่ระบาดของ Covid-19 ในประเทศอังกฤษที่นับวันยิ่งทวีความรุนแรงมากขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อไวรัสที่ระบาดอยู่นั้นเป็น Covid-19 สายพันธ์ุใหม่ ที่ถูกตั้งชื่อว่า ‘VUI-202012/01’ ซึ่งหลังจากที่มีการเปิดเผยข้อมูลเพิ่มเติมออกมา มีหลายคนเชื่อว่า VUI-202012/01…

การใช้สมาร์ทโฟนนาน ๆ

ระวัง! 6 โรคที่จะตามมากับ “การใช้สมาร์ทโฟน” นาน ๆ

by

ระวัง! 6 โรคที่จะตามมากับ “การใช้สมาร์ทโฟน” นาน ๆ ต้องยอมรับว่า ทุกวันนี้ “การใช้สมาร์ทโฟน” กลายเป็นเป็นอวัยวะส่วนที่ 33 ต่อชีวิตประจำวันของคนเราไปแล้ว นอกจากจะใช้ในการติดต่อสื่อสารแล้ว ยังสามารถรับข้อมูลข่าวสาร บันเทิงต่าง ๆ เช่น ดูหนัง ฟังเพลง เล่นเกม ถ่ายรูป บันทึกวิดีโอ แชท ฯลฯ…

การครอบฟันเหล็ก

เมื่อลูกน้อยต้อง “ครอบฟันเหล็ก”

by

เมื่อลูกน้อยต้อง “ครอบฟันเหล็ก” คุณพ่อคุณแม่เคยเห็นรอยยิ้มของหนู ๆ น้อง ๆ ที่โชว์ฟันเหล็กสีเงินหรือเปล่านะ เขาเรียกสิ่งนี้ว่า “ครอบฟันเหล็ก” ค่ะ เคยสงสัยกันไหมคะว่าครอบฟันไปทำไม ฟันมีปัญหาอะไรถึงต้องครอบ แล้วทำไมถึงเป็นวัสดุแบบนั้น และจะเอาที่ครอบฟันออกได้เมื่อไหร่ วันนี้ Motherhood จะไขทุกข้อข้องใจเกี่ยวกับเรื่องของการครอบฟันของลูกน้อยค่ะ การครอบฟันน้ำนมคืออะไร ? การครอบฟันน้ำนมหรือการครอบฟันเด็ก (Pediatric crown) คือ วิธีการบูรณะฟันวิธีหนึ่งที่ทันตแพทย์เด็กใช้ในกรณีที่ฟันน้ำนมไม่สามารถบูรณะได้ด้วยการอุดฟันตามปกติ…

ลูกกินเค็มมากไป

8 สัญญาณบ่งบอก ว่าลูกคุณ “กินเค็ม” มากเกินไปแล้ว

by

8 สัญญาณบ่งบอก ว่าลูกคุณ “กินเค็ม” มากเกินไปแล้ว การรับประทานอาหารที่มีเกลือมากเกินไปแม้ในวัยหนุ่มสาวก็อาจมีผลในระยะยาวได้ นี่คือสัญญาณบางอย่างที่ลูกของคุณ “กินเค็ม” มากเกินไปแล้ว ซึ่ง Motherhood เชื่อว่าหลาย ๆ ข้อนั้นอาจเป็นสิ่งที่คุณพ่อคุณแม่หรือผู้ที่เลี้ยงดูใกล้ชิดไม่เคยตระหนักมาก่อน แต่วันนี้คุณป้องกันให้กับลูกน้อยได้ก่อนจะสาย คุณทราบหรือไม่ว่าเด็กโดยเฉลี่ยตั้งแต่อายุ 6-18 ปี รับเกลือมากกว่าปริมาณที่แนะนำต่อวันประมาณ 50 เปอร์เซ็นต์ แม้ว่าคุณจะเก็บกระปุกเกลือไว้ไกลมือพวกเขาสักแค่ไหน แต่เขาก็ยังสามารถรับมันได้ในปริมาณที่มากเกินไปอยู่ดี ในความเป็นจริงผู้ร้ายรสเค็มนั้นมาจากพิซซ่า…