สุขภาพจิต

พูดกับแม่เลี้ยงเดี่ยว

10 อย่างที่เราไม่ควรพูดกับ “แม่เลี้ยงเดี่ยว”

by

10 อย่างที่เราไม่ควรพูดกับ “แม่เลี้ยงเดี่ยว” เป็นเรื่องที่น่าประหลาดใจเสมอที่บางคนคิดว่าคำพูดของพวกเขาดีแล้วที่จะพูดกับคนอื่น ผู้คนยืนกรานที่จะบอกคุณว่าคุณน้ำหนักขึ้น หรือหากคุณเป็น “แม่เลี้ยงเดี่ยว” พวกเขาก็อาจจะมีคำแนะนำฉลาด ๆ มาพ่นใส่คุณอีกตามเคย และยิ่งถ้าพวกเขารู้ว่าคุณเพิ่งเลิกกับพ่อของลูกไปไม่กี่เดือนก่อน คุณก็จะยิ่งเจอกับคำพูดประเภท ‘นี่เป็นปัญหาของคนรุ่นใหม่ทั่วโลก’ หรือไม่ก็ ‘คู่รักยอมแพ้ง่ายเกินไป พอเลิกกัน ลูกก็จะไม่ได้รับการเลี้ยงดูอย่างเหมาะสม นำไปสู่ปัญหามากมาย พ่อแม่เดี๋ยวนี้ไม่ทนเพื่อลูกกันแล้ว’ หรือคติชีวิตคู่เชย ๆ อย่าง ‘คนสมัยก่อนพอของเสียเขาก็ซ่อมไง คนสมัยนี้ทิ้งแล้วหาซื้อใหม่ท่าเดียวเลย’…

พ่อแม่ทำร้ายลูกโดยไม่ตั้งใจ

10 วิธีที่ “พ่อแม่ทำร้ายลูก” โดยไม่ตั้งใจ

by

10 วิธีที่ “พ่อแม่ทำร้ายลูก” โดยไม่ตั้งใจ การเลี้ยงลูกเป็นงานที่ยาก และในขณะที่เราต้องการสิ่งที่ดีที่สุดสำหรับลูก ๆ ไม่มีใครที่ปราศจากข้อผิดพลาด บางครั้ง ไม่ว่าความตั้งใจของเราจะดีเพียงใด เราก็ยังคงทำร้ายลูก ๆ ของเราโดยไม่ได้ตั้งใจ แต่โชคดีที่ความรู้เป็นเครื่องมืออันทรงพลังที่จะช่วยให้เรามุ่งมั่นที่จะทำมันให้ดีขึ้นในทุก ๆ วัน เด็กยังอยู่ในขั้นตอนของการพัฒนา และด้วยเหตุนี้ สิ่งที่เราอาจถือว่าไม่มีอันตรายสามารถทิ้งร่องรอยที่ยั่งยืนไว้บนตัวพวกเขาทั้งภายในและภายนอก อย่าโทษตัวเองถ้าคุณได้ทำบางสิ่งบางอย่างตามรายการต่อไปนี้ เราทุกคนล้วนเคยทำผิดพลาด แต่การเข้าใจความผิดพลาดสามารถช่วยให้คุณหลีกเลี่ยงความผิดพลาดได้ในอนาคต 1. วางของเล่นไว้บนเตียงของลูกน้อย…

ซึมเศร้าหลังคลอดในผู้ชาย

รู้มั้ย? “ซึมเศร้าหลังคลอด” ผู้ชายก็เป็นได้เหมือนกันนะ

by

รู้มั้ย? “ซึมเศร้าหลังคลอด” ผู้ชายก็เป็นได้เหมือนกันนะ ช่วงนี้เรื่องของภาวะ “ซึมเศร้าหลังคลอด” กำลังกลับมาเป็นประเด็นกันอีกครั้งในบ้านเราค่ะ แต่ว่าผู้คนส่วนใหญ่มักจะรับรู้เกี่ยวกับมันจากในมุมของคนเป็นแม่เท่านั้น ซึ่งก็ไม่แปลกอะไร เพราะว่าอาการนี้มีผลกระทบต่อแม่มากถึง 1 ใน 9 รายเลยทีเดียว แต่รู้ไหมคะ ? ว่าจริง ๆ แล้วภาวะนี้ก็สามารถเกิดขึ้นกับพ่อได้ด้วยเช่นกัน แต่ทำไมเราถึงมีความรู้เรื่องนี้กันน้อยมากเลยละ ? ทำไมมีผู้ชายไม่มากนักที่กล้าพูดถึงมัน ? นี่คือสิ่งที่ผู้เชี่ยวชาญเข้าใจเกี่ยวกับสาเหตุอาการและการรักษาภาวะซึมเศร้าหลังคลอดในผู้ชาย ผู้ชายมีภาวะซึมเศร้าหลังคลอดได้ด้วยเหรอ…

คุยเรื่องอาวุธนิวเคลียร์

วิธีพูดคุยกับเด็ก ๆ เกี่ยวกับ “อาวุธนิวเคลียร์”

by

วิธีพูดคุยกับเด็ก ๆ เกี่ยวกับ “อาวุธนิวเคลียร์” จากข่าวสงครามระหว่างรัสเซียและยูเครนที่หนาหูมาตั้งแต่ต้นปี ลูก ๆ อาจมีคำถามมากมาย ความคิดที่จะพูดคุยกับลูก ๆ เกี่ยวกับ “อาวุธนิวเคลียร์” อาจทำให้คุณรู้สึกปวดหัวได้ โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากคุณรู้สึกกังวลใจที่จะพูดถึงเรื่องหนัก ๆ อย่างสงครามที่แต่ความสูญเสีย ผู้คนบาดเจ็บล้มตาย ผู้เชี่ยวชาญจะมาช่วยอธิบายวิธีการพูดคุยกับเด็ก ๆ เกี่ยวกับเรื่องที่ใหญ่โตอย่างเช่นภัยคุกคามจากการโจมตีด้วยนิวเคลียร์ สำหรับใครก็ตามที่จำยุคสงครามเย็นได้ การรุกรานยูเครนของรัสเซียเมื่อเร็วๆ นี้ รวมถึงการคุกคามของการใช้อาวุธนิวเคลียร์…

Parental Alienation Syndrome คือ

Parental Alienation Syndrome – เมื่อพ่อหรือแม่กำลังจะกลายเป็นมนุษย์ต่างดาว

by

Parental Alienation Syndrome – เมื่อพ่อหรือแม่กำลังจะกลายเป็นมนุษย์ต่างดาว แม้พ่อแม่เลิกรากันไป แต่หน้าที่ความเป็นพ่อแม่ที่มีไม่ได้หมดตามไปด้วย หากคุณทั้งคู่จบกันไม่ค่อยสวย อาจเกิดภาวะ “Parental Alienation Syndrome” ขึ้นกับลูกได้ และนี่คือสิ่งที่คุณต้องระวัง วันนี้ Motherhood จะพาคุณไปรู้จักกับมันให้มากขึ้นค่ะ มีภาวะทางจิตเวชที่เกิดขึ้นกับเด็กบางรายที่พ่อแม่แยกทางกันเรียกว่า Parental Alienation Syndrome มันคือสถานการณ์ที่ผู้ปกครองฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งพยายามทำให้อีกฝ่ายหายไปจากชีวิตเด็ก ทำให้ผู้ปกครองอีกฝ่ายค่อย ๆ…

โรคไบโพลาร์ในเด็กเป็นไปได้

โรคไบโพลาร์ในเด็ก เป็นไปได้จริงเหรอ ?

by

โรคไบโพลาร์ในเด็ก เป็นไปได้จริงเหรอ ? “โรคไบโพลาร์ในเด็ก” คือสิ่งที่เป็นไปได้จริง มักได้รับการวินิจฉัยอาการในเด็กโตและวัยรุ่น แต่ในความเป็นจริงแล้วโรคไบโพลาร์สามารถเกิดขึ้นได้ในเด็กทุกวัย เช่นเดียวกับที่เกิดในผู้ใหญ่ โรคอารมณ์สองขั้วในเด็กอาจทำให้อารมณ์แปรปรวนได้ตั้งแต่ระดับไฮเปอร์แอคทีฟหรือก้าวร้าวผิดปกติ (Mania) ไปจนถึงภาวะซึมเศร้าขั้นรุนแรง (Depressed) เนื่องในโอกาสที่วันนี้เป็นวันไบโพลาร์โลก Motherhood จึงอยากให้คุณพ่อคุณแม่ได้ทำความรู้จักโรคนี้ที่อาจเกิดขึ้นกับเด็ก ๆ ไว้ค่ะ โรคไบโพลาร์ คืออะไร และส่งผลต่อเด็กอย่างไร ? โรคไบโพลาร์เป็นอาการผิดปกติทางอารมณ์ 2 แบบที่เปลี่ยนแปลงไปมาสลับกัน…

ทำไมลูกแกล้งป่วย

ทำยังไงดีเมื่อ “ลูกแกล้งป่วย” ?

by

ทำยังไงดีเมื่อ “ลูกแกล้งป่วย” ? ลูกของคุณนอนป่วยอยู่บนโซฟาที่บ้าน ทันใดนั้นคุณก็พบว่าลูกหัวเราะไปพร้อมกับรายการทีวีที่โปรดปราน คุณโดนลูกแกงเข้าแล้ว นี่ “ลูกแกล้งป่วย” เหรอ? การแกล้งป่วยเพื่อที่จะได้ไม่ต้องไปโรงเรียนถือได้ว่าเป็นพฤติกรรมของเด็กธรรมดา ๆ จนกว่าการกระทำนี้จะเกิดขึ้นบ่อยจนกลายเป็นเรื่องปกติ หากคุณสังเกตเห็นว่าลูกของคุณต้องการหยุดอยู่บ้านบ่อยขึ้น อาจมีอะไรมากไปกว่าอาการท้องไส้ปั่นป่วนก็เป็นได้ ป่วยจริงหรือหลอก ? “ถ้าคุณสามารถแยกแยะได้ว่าพวกเขาไม่มีไข้หรือกำลังป่วยเป็นไข้หวัด อาจเป็นเพราะพวกเขากังวลเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงหรือถูกแยกจากพ่อแม่ แม้ว่าจะเป็นเพียงช่วงเวลาสั้น ๆ ก็ตาม” แจ็กกี้ เมเยอร์ส ที่ปรึกษามืออาชีพในมิชิแกนตะวันออกเฉียงใต้…

ทำไมลูกไม่ยอมให้กอด

อยู่ ๆ “ลูกไม่ยอมให้กอด” เป็นเพราะอะไร ?

by

อยู่ ๆ “ลูกไม่ยอมให้กอด” เป็นเพราะอะไร ? แม้ว่าคุณยายจะเหยียดแขนออกไป แต่ลูกอายุ 10 ขวบของคุณก็ยังยืนกรานที่จะไม่ไปกอด การที่ “ลูกไม่ยอมให้กอด” อาจจะทำให้คุณรู้สึกเก้อเมื่อลูกของคุณปฏิเสธที่จะกอดญาติสนิทหรือแม้แต่พวกคุณเองในฐานะพ่อแม่ แต่การปฏิเสธความรักเป็นเรื่องปกติในช่วงก่อนวัยรุ่นค่ะ มาติดตามรายละเอียดของพฤติกรรมนี้ไปด้วยกันเลย “โดยปกติแล้วจะเริ่มในชั้นประถมศึกษาตอนปลายและมัธยมต้น และแน่นอนในโรงเรียนมัธยมปลาย” จูดี้ มาลิโนฟสกี้ นักจิตวิทยาคลินิกที่ Eastwood Clinics ของ St. John…

การกักบริเวณลูก

“กักบริเวณลูก” ทำอย่างไรให้ได้ผลดี ?

by

“กักบริเวณลูก” ทำอย่างไรให้ได้ผลดี ? การ “กักบริเวณลูก” เกี่ยวข้องกับการตัดทอนสิทธิพิเศษของเด็กในช่วงเวลาหนึ่ง กระตุ้นให้พวกเขาคิดทบทวนการกระทำของตนเอง และค้นหาวิธีแก้ไขเพื่อแก้ไขสิ่งที่ทำผิดพลาดไป เทคนิคด้านวินัยนี้ช่วยสอนเด็ก ๆ เกี่ยวกับผลที่ตามมาของการละเมิดกฎ และความสำคัญของการมีขอบเขต และขอบเขตที่เหมาะสม ในทางหนึ่ง การกักบริเวณจะช่วยให้พ่อแม่ผู้ปกครองบังคับใช้กฎได้ อย่างไรก็ตาม วิธีที่คุณใช้เหล่าเทคนิคนี้เป็นตัวกำหนดประสิทธิภาพของมัน พ่อแม่บางคนให้ลูกอยู่แต่กับบ้านหลังจากเสร็จสิ้นกิจกรรมทั้งหมดหลังเลิกเรียน ในขณะที่คนอื่น ๆ อาจยึดโทรศัพท์ ยกเลิกการเชื่อมต่อ Wi-Fi หรือปฏิเสธไม่ให้เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนเป็นเวลาหนึ่งหรือสองวัน ไม่ว่าคุณจะตั้งกฎเกณฑ์ใดไว้เป็นฐาน…

เด็กเข้าใจว่าไงเมื่อพ่อแม่หย่ากัน

ลูกเข้าใจว่ายังไง หาก “พ่อแม่หย่ากัน”

by

ลูกเข้าใจว่ายังไง หาก “พ่อแม่หย่ากัน” ความเข้าใจต่อเหตุการณ์ที่ “พ่อแม่หย่ากัน” และผลกระทบของการหย่าร้างอาจทำให้ผู้ใหญ่หลายคนสับสนได้ เมื่อมีการหย่าร้างเกิดขึ้น ผู้ที่ได้รับผลกระทบและบอบช้ำมากที่สุดก็คือเด็ก เด็กที่ไม่เข้าใจว่าทำไมมันถึงเกิดขึ้นหรือจำเป็นต้องเกิดขึ้น ความสามารถของเด็กในการทำความเข้าใจปรากฏการณ์อันไม่พึงประสงค์นี้ขึ้นอยู่กับอายุและสิ่งที่พวกเขาได้รับจากการบอกเล่า นั่นเป็นสาเหตุหลักว่าทำไมเราจึงควรรู้ว่าควรบอกอะไรเขาบ้างเพื่อไม่ให้สถานการณ์มันยิ่งยากขึ้นกว่าที่เป็นอยู่ ในบทความวันนี้ เราจะมาดูกันว่าเด็ก ๆ เข้าใจการหย่าร้างอย่างไรในแต่ละช่วงอายุของพวกเขา แรกเกิดถึง 18 เดือน ทารกในวัยนี้ไม่เข้าใจรายละเอียดหรือสาเหตุของการหย่าร้างเพราะไม่เข้าใจการหย่าร้างนั่นเอง แต่พวกเขาสามารถรู้สึกถึงความตึงเครียดและขัดแย้งได้หากมันเกิดขึ้นความสัมพันธ์ของพ่อแม่ ซึ่งส่งผลเสียต่อเด็กในหลายระดับ ตัวอย่างเช่น พวกเขากลายเป็นคนหงุดหงิดและเกาะติด ส่งผลให้พวกเขารู้สึกไม่สบายใจเมื่ออยู่ท่ามกลางผู้คนใหม่ๆ…