สุขภาพลูก

รู้จักภาวะตายคลอด

ภาวะตายคลอด เกิดขึ้นได้อย่างไร ?

by

ภาวะตายคลอด เกิดขึ้นได้อย่างไร ? ภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ที่พบได้ไม่บ่อยนัก แต่กลับเป็นสิ่งที่น่ากลัวและรับได้ยากสำหรับทั้งพ่อแม่และแพทย์ก็คือ “ภาวะตายคลอด” แม้ว่าจะยังมีหลายคนในประเทศไทยได้ยินเกี่ยวกับสิ่งนี้ไม่มากนัก ทำให้รู้สึกเหมือนเป็นเรื่องไกลตัว แต่เป็นโอกาสที่ดีที่เราจะมาทำความรู้จักมันให้มากขึ้นกันค่ะ ภาวะตายคลอด (Stillbirth) เป็นภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นระหว่างการตั้งครรภ์หรือการคลอดบุตร และมีการให้คำจำกัดความที่หลากหลาย รวมทั้งมีความคาบเกี่ยวกับการแท้งบุตรด้วย การให้คำจำกัดความของภาวะนี้ส่วนใหญ่จะขึ้นกับบริบทของแต่ละประเทศ หากเกิดภาวะนี้ในผู้ตั้งครรภ์ที่อายุครรภ์ยังน้อยอยู่ เป็นช่วงที่ถ้าทารกคลอดออกมายังไงแล้วก็ไม่สามารถเลี้ยงให้รอดได้ แบบนี้เรียกว่าการแท้งบุตร แต่หากพบในอายุครรภ์ที่มากขึ้น เป็นช่วงที่ถ้าทารกคลอดออกมาก็สามารถเลี้ยงให้รอดได้ แบบนี้จะนับเป็นภาวะตายคลอด ในบางประเทศแถบยุโรปและที่อเมริกาได้กำหนดจุดตัดของอายุครรภ์เอาไว้ที่ 20-24 สัปดาห์…

อันตรายของแมลงก้นกระดก

ระวัง! “แมลงก้นกระดก” เริ่มระบาดอีกแล้ว

by

ระวัง! “แมลงก้นกระดก” เริ่มระบาดอีกแล้ว ถึงตอนนี้จะยังอยู่ในช่วงหน้าร้อน แต่เริ่มเห็นข่าวว่า “แมลงก้นกระดก” ออกมาระบาดกันแล้วนะคะ ยังไม่เข้าหน้าฝนเหมือนที่ระบาดกันตามปกติเลย แต่พักนี้เราจะเริ่มเห็นคุณพ่อคุณแม่จากหลาย ๆ ที่โพสต์เตือนภัยว่าลูกถูกเจ้าแมลงร้ายตัวนี้กัดต่อยเอา สำหรับคนที่ยังไม่รู้จักว่าแมลงชนิดนี้เป็นแบบไหน ทำร้ายเด็ก ๆ ของเราได้อย่างไร ก็สามารถติดตามกันได้ในบทความวันนี้เลยค่ะ แมลงก้นกระดกเป็นอย่างไร ? แมลงก้นกระดก (Rove beetles) หรือบางที่นิยมเรียกกันว่าแมลงเฟรชชี่ ปกติจะพบได้มากในช่วงย่างเข้าสู่ฤดูฝน แมลงชนิดนี้ต้องการความชื้นเพื่อการขยายพันธุ์…

รู้จักโรคกระดูกสันหลังคดในเด็ก

ทำความรู้จักกับ “โรคกระดูกสันหลังคดในเด็ก”

by

ทำความรู้จักกับ “โรคกระดูกสันหลังคดในเด็ก” ลูกของคุณอาจจะเป็น “โรคกระดูกสันหลังคดในเด็ก” อยู่ก็ได้ แต่ที่คุณไม่เอะใจสงสัย นั่นเป็นเพราะหากเด็กเป็นไม่มากก็จะไม่มีอาการแสดงให้เห็น โรคกระดูกสันหลังคดนี้สามารถพบได้ตั้งแต่เด็กวัยแรกเกิดไปจนถึงเด็กวัยรุ่น และมากถึงร้อยละ 80 ทีเดียวที่ไม่ทราบสาเหตุที่แน่ชัด นอกากนี้ยังมีงานวิจัยที่บ่งชี้ว่าเด็กไทยเป็นโรคนี้ ในอัตรา 1 ต่อ 10,000 คน วันนี้ Motherhood จะมาชวนคุณทำความรู้จักกับโรคนี้กันให้มากขึ้นนะคะ โรคกระดูกสันหลังคดในเด็ก (Scoliosis) พบได้ในเด็กผู้หญิงมากกว่าเด็กผู้ชายประมาณ 8…

ลูกแขนคอก

ลูกเราเป็น “แขนคอก” รึเปล่านะ ?

by

ลูกเราเป็น “แขนคอก” รึเปล่านะ ? เด็กบางคนอาจจะมีกระดูกแขนช่วงเหนือข้อศอกที่บิดออก คนเป็นพ่อแม่ก็คงกังวลอยู้ไม่น้อย อาการแบบนี้ใช่ “แขนคอก” หรือเปล่า ? โตไปจะหายเองได้ไหม ? หรือจะต้องรักษาอย่างไรถึงจะดีขึ้น กลัวว่าลูกจะมีปมด้อย ถ้าอย่างนั้นวันนี้เรามาทำความเข้าใจในเรื่องนี้กันค่ะ แขนคอกเป็นอย่างไร ? แขนโก่งในลักษณะที่มุมข้อศอกชี้ออกไปทางข้างตัว อาการเช่นนี้อาจจะเกิดหลังจากผู้ป่วยรับการรักษากระดูกแขนหักเหนือศอก เมื่อกระดูกติดดีแล้วความพิการอาจยังเหลือให้เห็น เป็นความเจ็บป่วยหรืออุบัติเหตุกันแน่ ? ความจริงแล้วเกิดได้จากหลายสาเหตุ ได้แก่…

ไวรัสโรต้าหน้าร้อน

“ไวรัสโรต้า” วายร้ายประจำหน้าร้อนที่พ่อแม่ต้องรู้จัก

by

“ไวรัสโรต้า” วายร้ายประจำหน้าร้อนที่พ่อแม่ต้องรู้จัก หน้าร้อนแบบนี้เชื้อโรคเติบโตได้เร็วมาก และเด็ก ๆ ก็อยู่ในวัยที่ชอบสัมผัสสิ่งรอบตัว “ไวรัสโรต้า” จึงเป็นวายร้ายเจ้าประจำของหน้าร้อนที่คุณพ่อคุณแม่ควรทำความรู้จักเอาไว้ เพราะมันเป็นช่องทางที่นำไปสู่โรคท้องร่วงแบบเฉียบพลันได้ ซึ่งอาจะเป็นอันตรายถึงชีวิตเลยทีเดียว ไวรัสโรต้าในเด็ก โรต้าไวรัสมักพบได้ในเด็กเล็ก เมื่อเด็กรับเชื้อไวรัสตัวนี้เข้าไปจะทําให้เกิดโรคท้องเสียโรต้า เมื่อเชื้อไวรัสชนิดนี้เข้าไปถึงทางเดินอาหาร เชื้อจะทําให้เยื่อบุลําไส้เล็กบาดเจ็บ เซลล์เยื่อบุลําไส้เล็กก็จะสร้างน้ำย่อยได้น้อยลง ทําให้การย่อยนมและอาหารลดลง การดูดซึมน้ำก็ลดลงด้วย ขณะเดียวกันลําไส้เล็กมีการหลั่งเกินร่วมด้วย ทําให้ท้องเสีย เมื่อเซลล์เยื่อบุลําไส้สร้างเสริมตัวเองเพื่อซ่อมแซม โดยมักจะเกิดขึ้นภายใน 3-5 วัน…

ใช้ยาโฮมีโอพาธีย์กับเด็ก

“ยาโฮมีโอพาธีย์” ดีสำหรับเด็กมั้ยนะ ?

by

“ยาโฮมีโอพาธีย์” ดีสำหรับเด็กมั้ยนะ ? นอกเหนือจากการรักษาทางการแพทย์แบบดั้งเดิมที่แพทย์แนะนำ คุณอาจเคยเห็นผลิตภัณฑ์หรือ “ยาโฮมีโอพาธีย์” สำหรับเด็กที่ร้านขายยาในพื้นที่ของคุณ ทางออนไลน์ หรือที่ร้านขายของเพื่อสุขภาพ คุณอาจสงสัยว่าการรักษาตามแนวการแพทย์โฮมีโอพาธีย์นั้นปลอดภัยหรือไม่ที่จะมอบให้กับลูก ๆ ของคุณ บทความนี้จะกล่าวถึงสิ่งที่คุณควรรู้เกี่ยวกับโฮมีโอพาธีย์ และคุณควรใช้ผลิตภัณฑ์เหล่านี้ในการรักษาโรคในวัยเด็กหรือไม่ โฮมีโอพาธีย์คืออะไร ? โฮมีโอพาธีย์เป็นกระบวนการรักษาที่ถูกคิดค้นขึ้นในปี ค.ศ.1796 โดยซามูเอล คริสเตียน ฮาห์นอมานน์ แพทย์ชาวเยอรมัน ได้กล่าวว่า การใช้สารจากธรรมชาติหรือเชื้อก่อโรคใด…

มีปฏิสัมพันธ์กับเด็กออทิสติก

Dos & Don’ts เมื่อมีปฏิสัมพันธ์กับ “เด็กออทิสติก”

by

Dos & Don’ts เมื่อมีปฏิสัมพันธ์กับ “เด็กออทิสติก” วันที่ 2 เมษายนของทุกปี เป็นวันที่องค์การสหประชาชาติประกาศให้เป็นวันรณรงค์ตระหนักรู้ออทิสติกโลก การดูแล “เด็กออทิสติก” นั้นอาจดูเหมือนไม่ใช่เรื่องง่ายและเป็นสิ่งที่ท้าทายสำหรับคุณ รวมทั้งแต่เด็กออทิสติกมีความเป็นปัจเจกเช่นเดียวกับเด็กอื่น ๆ ดังนั้น จึงไม่มีกฎเกณฑ์ที่ตายตัวในการโต้ตอบกับพวกเขา แต่มีบางสิ่งที่คุณสามารถพิจารณาเพื่อเพิ่มโอกาสที่จะได้รับประสบการณ์เชิงบวก เป็นการเรียนรู้ถึงสิ่งที่ไม่ควรทำกับเด็กออทิสติกและสิ่งที่สามารถช่วยส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อพวกเขา เช่นเดียวกับเด็กทุกคน เด็กออทิสติกสมควรได้รับความเมตตาและความเคารพจากคุณ สิ่งที่คุณเลือกอาจก่อให้เกิดอันตรายโดยไม่ตั้งใจ แม้ว่าคุณจะต้องการมีส่วนร่วมในเชิงบวกกับพวกเขาก็ตาม ปฏิบัติตามคำแนะนำเหล่านี้ เมื่อต้องรับมือกับเด็กออทิสติกเพื่อเป็นแนวทางในการมีปฏิสัมพันธ์เชิงบวก…

เมื่อลูกปวดท้อง

7 เหตุผลที่ทำให้ “ลูกปวดท้อง”

by

7 เหตุผลที่ทำให้ “ลูกปวดท้อง” การที่ “ลูกปวดท้อง” ไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่ในช่วงฤดูร้อนเช่นนี้ อาหารจะเสื่อมคุณภาพและเกิดการแพร่กระจายของไวรัสอย่างรวดเร็ว อาจเป็นเรื่องยากที่จะบอกได้ว่าอาการป่วยของลูกน้อยของคุณเป็นสิ่งที่ต้องการการรักษาพยาบาลหรือแค่เพียงรับประทานผักเพื่อสุขภาพในปริมาณที่มากขึ้น การปวดท้องของลูกย่อมมีสาเหตุที่แตกต่างกันไป หากคุณรู้ที่มาที่ไป จะได้บรรเทาอาการให้เขาถูกค่ะ สาเหตุทั่วไปของอาการปวดท้องในเด็ก ไข้หวัดลงกระเพาะ กรดไหลย้อน/แสบร้อนกลางอก แพ้อาหาร แก๊ส ท้องผูก อาหารเป็นพิษ การเจ็บป่วย สาเหตุที่ทำให้เกิดอาการปวดท้องในเด็กที่อาจจะไม่ใช่เรื่องร้ายแรงแต่กลับทำให้คนเป็นพ่อแม่ไม่สบายใจอย่างหนัก ได้แก่ แก๊ส ท้องผูก…

เป็นวัณโรคในเด็ก

วัณโรคในเด็ก (Tuberculosis in Children)

by

วัณโรคในเด็ก (Tuberculosis in Children) ประเทศไทยเป็น 1 ใน 14 ประเทศของโลกที่มีผู้ป่วยวัณโรคมากที่สุดในโลกจากการจัดอับดับโดยองค์การอนามัยโลก ในปี พ.ศ. 2559 แต่ “วัณโรคในเด็ก” นั้น วินิจฉัยได้ยากกว่าผู้ใหญ่ เพราะโอกาสจะตรวจพบเชื้อวัณโรคมีน้อย แล้วเราจะป้องกันหรือรักษาให้ลูกได้อย่างไร ติดตามได้ในบทความวันนี้ค่ะ วัณโรคมีการติดต่ออย่างไร ? วัณโรคเป็นโรคที่ติดต่อจากคนสู่คนโดยการแพร่กระจายไปในอากาศ ไม่ได้ติดต่อทางการสัมผัส ซึ่งจะเกิดขึ้นเมื่อผู้ป่วยวัณโรค…

วันดาวน์ซินโดรมโลก

13 ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ “ดาวน์ซินโดรม” ที่พ่อแม่ต้องรู้ไว้

by

13 ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ “ดาวน์ซินโดรม” ที่พ่อแม่ต้องรู้ไว้ คุณน่าจะเคยพบคนที่เป็น “ดาวน์ซินโดรม” มาบ้างแล้ว แต่คุณอาจไม่รู้อะไรมากเกี่ยวกับสภาพโครโมโซมที่ส่งผลต่อ 1 คนจาก 700 คน เพื่อเป็นเกียรติแก่วันดาวน์ซินโดรมโลก เราได้รวบรวมข้อเท็จจริงบางประการเกี่ยวกับกลุ่มอาการดาวน์ที่ผู้ปกครองทุกคนควรรู้ อ่านต่อเพื่อเรียนรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับสาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง อาการ ตัวเลือกการรักษา และอื่น ๆ 1. ดาวน์ซินโดรม ตั้งชื่อตามจอห์น แลงดอน…