การคลอด

และแล้วช่วงเวลาอันสำคัญของครอบครัวก็มาถึง ลูกรักกำลังจะได้ลืมตาออกมาดูโลกแล้ว รายละเอียดของ “การคลอด” มีอะไรบ้าง คุณแม่จะต้องรับมือกับสิ่งใด เตรียมตัวให้พร้อมเพื่อความมั่นใจได้ในสาระความรู้ที่เราจะนำมาฝากกัน

เตรียมตัวผ่าคลอดยังไง

คู่มือสำหรับ “เตรียมตัวผ่าคลอด” และการพักฟื้น

by

คู่มือสำหรับ “เตรียมตัวผ่าคลอด” และการพักฟื้น เป็นความคิดที่ดีที่คุณจะเรียนรู้เพื่อ “เตรียมตัวผ่าคลอด” เพราะหากแพทย์วินิจฉัยว่าต้องผ่าคลอดทันที คุณก็คงไม่มีเวลามากพอที่จะถามคำถาม และไม่ว่านี่จะเป็นลูกคนแรกหรือคนที่สาม บทความนี้พร้อมที่จะตอบทุกคำถามของคุณ การผ่าคลอดเจ็บกว่าคลอดเองหรือไม่ ? นี่เป็นคำถามที่ตอบยากด้วยเหตุผล 2 ประการ ประการแรก ไม่ใช่ทุกคนที่ประสบความเจ็บปวดในลักษณะเดียวกัน และประการที่สอง มันเหมือนกับการเอาแอปเปิลไปเทียบกับส้ม หากเราพูดถึงช่วงเวลาที่ทารกออกจากร่างกายแม่มาดูโลก การคลอดทางช่องคลอดจะเจ็บปวดกว่ามาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าคุณไม่มียาแก้ปวด ในการผ่าคลอด คุณจะรู้สึกชาไปทั้งหมดและจะไม่ต้องผ่านความเจ็บปวดจากการคลอดบุตรและเบ่งทารกออกมา อย่างไรก็ตาม…

ทารกรู้สึกเจ็บปวดระหว่างคลอดมั้ย

ทารกรู้สึกเจ็บปวดระหว่างคลอด จริงหรือไม่ ?

by

ทารกรู้สึกเจ็บปวดระหว่างคลอด จริงหรือไม่ ? วินาทีแรกที่คุณเห็นใบหน้าของทารกนั้นเป็นโมเมนท์ที่น่าอัศจรรย์ เขาช่างน่ารักและนุ่มนิ่มและมีรูปร่างแปลก ๆ และเต็มไปด้วยไขหนาสีขาว แน่นอนว่าใบหน้านั้นสวยงามสำหรับคุณ แต่มันอาจแสดงหลักฐานที่น่าตกใจบางอย่างเกี่ยวกับการเดินทางที่ยากลำบากจากภายในสู่ภายนอก การคลอดจากมุมของของทารกเป็นอย่างไร ? ทารกรู้สึกเจ็บปวดระหว่างคลอดหรือไม่ ? บทความนี้พาคุณไปจะสำรวจว่าทารกต้องผ่านอะไรบ้างจากประสบการณ์การคลอดบุตรและความรู้สึกตั้งแต่ต้นจนจบ ทารกตัดสินใจหรือเปล่าว่าจะเกิดเมื่อไหร่ ? มดลูกถูกออกแบบมาให้อยู่ในสภาพแวดล้อมที่สะดวกสบายสำหรับลูกน้อย น้ำคร่ำช่วยปกป้องจากโลกภายนอก และรกก็ให้สารอาหารตลอดเวลา ถ้าอย่างนั้นอะไรเป็นตัวกระตุ้นให้ทารกออกมากันละ ? ยังมีความลึกลับอยู่มากมายเกี่ยวกับสาเหตุที่ทำให้การคลอดเริ่มขึ้น แต่นักวิจัยได้แสดงให้เห็นว่ากระบวนการนี้เริ่มต้นโดยทารกเอง เมื่อปอดของพวกเขามีความพร้อม…

23 พ.ค. วันแห่งการยุติปัญหาช่องทะลุทางสูติกรรม

23 พ.ค. วันแห่งการยุติปัญหาช่องทะลุทางสูติกรรม

by

23 พ.ค. วันแห่งการยุติปัญหาช่องทะลุทางสูติกรรม คนไทยเราอาจจะยังไม่คุ้นเคยเท่าไหร่นัก แต่ในวันที่ 23 พฤษภาคมของทุกปี ทางกองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติประกาศให้เป็นวัน International Day to End Obsteric Fistula หรือ “วันแห่งการกำจัดปัญหาช่องทะลุทางสูติกรรม” ซึ่งเป็นผลจากการไม่มีอนามัยการเจริญพันธ์ที่ดี ปัญหาเกี่ยวกับช่องทะลุทางสูติกรรมนี้อาจไม่ได้เป็นปัญหาใหญ่ที่ประเทศไทย เนื่องจากประเทศเรามีอนามัยการเจริญพันธ์ที่ดีขึ้นและอัตราโรคแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์ต่ำลงมากเมื่อเทียบกับประเทศกำลังพัฒนาอีกหลายประเทศ แต่ในขณะนี้มีผู้หญิงและเด็กผู้หญิงจำนวนมากกว่า 2 ล้านคนในทั่วโลกที่ต้องเจ็บป่วยจากอาการนี้ เนื่องจากความยากจนและพวกเธอไม่สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขที่ดีพอ Motherhood…

การผดุงครรภ์

มาทำความรู้จัก “ผดุงครรภ์” ให้มากขึ้นเนื่องในวันผดุงครรภ์สากล

by

มาทำความรู้จัก “ผดุงครรภ์” ให้มากขึ้นเนื่องในวันผดุงครรภ์สากล วันที่ 5 พฤษภาคมของทุกปีเป็นวัน “ผดุงครรภ์” สากลค่ะ ในวันนี้ Motherhood ก็จะพาคุณ ๆ ไปทำความรู้จักกับหน้าที่นี้ให้มากขึ้น เพราะพวกเขาเป็นกำลังสำคัญในการดูแลผู้ตั้งครรภ์ในระหว่างตั้งครรภ์และการคลอด รวมทั้งดูแลลูกน้อยของคุณในช่วง 2-3 สัปดาห์หลังคลอดอีกด้วย มาทำความรู้จักพวกเขาให้ดียิ่งขึ้นกันเถอะค่ะ ผดุงครรภ์คืออะไร ? แต่ดั้งเดิมแล้ว พยาบาลผดุงครรภ์เป็นพยาบาลที่ได้รับการศึกษาพิเศษในหลักสูตรการผดุงครรภ์จากสถานศึกษาที่เป็นที่ยอมรับในประเทศนั้น ๆ และเป็นผู้ที่ได้รับใบประกอบวิชาชีพผดุงครรภ์ให้สามารถทำการผดุงครรภ์ได้…

รู้จักภาวะตายคลอด

ภาวะตายคลอด เกิดขึ้นได้อย่างไร ?

by

ภาวะตายคลอด เกิดขึ้นได้อย่างไร ? ภาวะแทรกซ้อนขณะตั้งครรภ์ที่พบได้ไม่บ่อยนัก แต่กลับเป็นสิ่งที่น่ากลัวและรับได้ยากสำหรับทั้งพ่อแม่และแพทย์ก็คือ “ภาวะตายคลอด” แม้ว่าจะยังมีหลายคนในประเทศไทยได้ยินเกี่ยวกับสิ่งนี้ไม่มากนัก ทำให้รู้สึกเหมือนเป็นเรื่องไกลตัว แต่เป็นโอกาสที่ดีที่เราจะมาทำความรู้จักมันให้มากขึ้นกันค่ะ ภาวะตายคลอด (Stillbirth) เป็นภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นระหว่างการตั้งครรภ์หรือการคลอดบุตร และมีการให้คำจำกัดความที่หลากหลาย รวมทั้งมีความคาบเกี่ยวกับการแท้งบุตรด้วย การให้คำจำกัดความของภาวะนี้ส่วนใหญ่จะขึ้นกับบริบทของแต่ละประเทศ หากเกิดภาวะนี้ในผู้ตั้งครรภ์ที่อายุครรภ์ยังน้อยอยู่ เป็นช่วงที่ถ้าทารกคลอดออกมายังไงแล้วก็ไม่สามารถเลี้ยงให้รอดได้ แบบนี้เรียกว่าการแท้งบุตร แต่หากพบในอายุครรภ์ที่มากขึ้น เป็นช่วงที่ถ้าทารกคลอดออกมาก็สามารถเลี้ยงให้รอดได้ แบบนี้จะนับเป็นภาวะตายคลอด ในบางประเทศแถบยุโรปและที่อเมริกาได้กำหนดจุดตัดของอายุครรภ์เอาไว้ที่ 20-24 สัปดาห์…

กินอินทผาลัมตอนท้อง

8 ประโยชน์ของอินทผาลัมในระหว่างตั้งครรภ์และมันช่วยให้คลอดง่ายขึ้นด้วย

by

8 ประโยชน์ของอินทผาลัมในระหว่างตั้งครรภ์และมันช่วยให้คลอดง่ายขึ้นด้วย หลายคนมักกลัวว่าจะเป็นเบาหวานตอนตั้งครรภ์ แต่เชื่อมั้ยว่าคุณสามารถบริโภค “อินทผาลัม” ระหว่างตั้งครรภ์ได้อย่างปลอดภัยในปริมาณที่พอเหมาะ ผลไม้แห้งเหล่านี้มีแคลอรี่ที่ดีและสามารถให้สารอาหารที่เพียงพอแก่มารดาและทารก นอกจากนี้ ยังเป็นอาหารว่างในอุดมคติสำหรับคนรักความหวานอีกด้วย เพราะน้ำตาลในนั้นสามารถสลายตัวเพื่อให้ได้รับพลังงานในปริมาณที่เหมาะสมโดยไม่ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้น บทความนี้จะบอกคุณเพิ่มเติมเกี่ยวกับการกินอินทผลัมระหว่างตั้งครรภ์ ความปลอดภัยและประโยชน์ที่ได้รับ การกินอินทผาลัมช่วยเรื่องการคลอดได้อย่างไร ? การศึกษาแสดงให้เห็นว่าการกินอินทผาลัมในช่วง 2-3 สัปดาห์สุดท้ายของการตั้งครรภ์สามารถส่งผลดีต่อการคลอด หลักฐานจากการทดลองควบคุมแบบสุ่มได้แสดงให้เห็นว่าผลอินทผาลัมที่บริโภคเข้าไปสามารถช่วยทำให้ปากมดลูกเปิด ซึ่งอาจลดระยะเวลาของการคลอด ดังนั้นจึงช่วยลดความจำเป็นในการให้ออกซิโทซินและพรอสตาแกลนดินเพื่อกระตุ้นการคลอดบุตร ปริมาณน้ำตาลสูงในอินทผาลัมสามารถให้พลังงานระหว่างคลอด และอาจช่วยส่งเสริมการหดตัวของมดลูกโดยการเพิ่มความไวของมดลูกต่อออกซิโทซิน การกินอินทผาลัมอาจช่วยผ่อนคลายการคลอดและลดการตกเลือดหลังคลอด ข้อมูลโภชนาการ…

รู้จักการคลอดที่หยุดชะงัก

การคลอดที่หยุดชะงัก: สาเหตุที่พบและสิ่งที่คุณทำได้

by

การคลอดที่หยุดชะงัก: สาเหตุที่พบและสิ่งที่คุณทำได้ “การคลอดที่หยุดชะงัก” อาจนำไปสู่การผ่าคลอดได้ แม้ว่าจะมีเครื่องหมายที่เป็นสากลบางประการสำหรับขั้นตอนต่าง ๆ ของการคลอด แต่ก็ไม่ใช่ว่าทุกคนจะได้รับการคลอดในลักษณะเดียวกันหรือในอัตราที่เท่ากัน เมื่อบุคคลอยู่ในระหว่างการคลอดที่กำลังดำเนินอยู่และกระบวนการนี้ช้าลงหรือหยุดลง เรียกว่า ‘การคลอดที่หยุดชะงัก’ สาเหตุของมันอาจรวมถึงการหดตัวช้าลง การหดตัวโดยไม่มีการขยาย หรือทารกไม่ไหลตัวลง แม้ว่าการหดตัวยังคงเกิดขึ้นก็ตาม ในบทความนี้คุณจะได้เรียนรู้ถึงสาเหตุที่ทำให้การคลอดหยุดดำเนินไป รวมทั้งสิ่งที่คุณสามารถทำได้หลังจากจุดนั้น การคลอดที่ติดขัดหรือหยุดชะงักอาจทำให้รู้สึกไม่สบายใจและท้อแท้ แต่ข่าวดีก็คือ โดยปกติแล้วจะไม่ก่อให้เกิดอันตรายใด ๆ และมักจะแก้ไขได้ นี่คือทุกสิ่งที่คุณจำเป็นต้องรู้เกี่ยวกับมัน การคลอดที่หยุดชะงักคืออะไร…

น้ำมันหอมระเหยที่ใช้ตอนคลอด

10 “น้ำมันหอมระเหย” ที่มีประโยชน์ที่สุดสำหรับการคลอด

by

10 “น้ำมันหอมระเหย” ที่มีประโยชน์ที่สุดสำหรับการคลอด การนำเอา “น้ำมันหอมระเหย” มาใช้เป็นประโยชน์ในการคลอดกำลังทำให้โลกต้องตะลึง พวกมันเป็นวิธีที่ดีในการปรับปรุงและบำรุงสุขภาพ น้ำมันหอมระเหยมีส่วนสำคัญในการส่งเสริมพลังงานและบรรเทาอาการปวดเมื่อแม่อยู่ในภาวะคลอดบุตร หากคุณสนใจในน้ำมันหอมระเหยและอยากรู้ว่ามันสามารถช่วยให้ประสบการณ์การคลอดบุตรของคุณราบรื่นขึ้นได้อย่างไร ต่อไปนี้คือน้ำมันหอมระเหยที่ดีที่สุดสำหรับการคลอดบุตรของคุณ น้ำมันหอมระเหยทำงานอย่างไรเพื่อบรรเทาอาการปวด ความจริงก็คือไม่มีใครรู้ว่าน้ำมันหอมระเหยทำงานอย่างไร การศึกษาเชื่อว่าน้ำมันหอมระเหยอาจทำงานโดยการเปิดเผยระบบลิมบิก (Limbic system) ไปยังโมเลกุลที่กระตุ้นระบบนั้น มันคือหนึ่งของสมองที่รับผิดชอบต่อความทรงจำและอารมณ์ โดยการกระตุ้นส่วนนั้นของจิตใจ ก็ถือว่าน้ำมันหอมระเหยอาจช่วยลดภาวะซึมเศร้าและความวิตกกังวล รวมทั้งความรู้สึกเจ็บปวด ดังนั้น น้ำมันหอมระเหยอาจทำงานโดยการปรับปรุงการผลิตคุณสมบัติบรรเทาความวิตกกังวลตามธรรมชาติของร่างกายคุณ น้ำมันหอมระเหยเป็นส่วนสำคัญของกระบวนการให้อาหาร ในช่วงปี…

Padsicle คืออะไร

Padsicle คืออะไร? ใช้ยังไง? ลองใช้ดู แล้วคุณจะรักมัน

by

Padsicle คืออะไร? ใช้ยังไง? ลองใช้ดู แล้วคุณจะรักมัน ว่ากันตามตรง มีหลายอย่างที่ไม่มีใครบอกคุณเกี่ยวกับการคลอด เช่น ผ้าอ้อมผู้ใหญ่ สายสวน การคลอดรก รวมถึงเจ้า “Padsicle” สิ่งหนึ่งที่คุณอาจไม่แปลกใจเลยก็คือความเจ็บปวดและความรุนแรงในส่วนต่าง ๆ ของคุณหลังจากการคลอดทางช่องคลอด รอยฟกช้ำ บวม และเย็บแผลจากช่องคลอดฉีกขาดเป็นเรื่องปกติที่ต้องเกิดขึ้นกับการคลอดธรรมชาติ แน่นอนว่าความเจ็บปวดจะหายไปและกลายเป็นความทรงจำที่ห่างไกล แต่เมื่อคุณอยู่ในช่วงเวลานั้น คุณจะเปิดรับทุกสิ่งที่ช่วยบรรเทาความเจ็บได้ คุณไม่สามารถดีดนิ้วดังเป๊าะเพื่อให้ความเจ็บหายไปเป็นปลิดทิ้งได้ ยังมีวิธีบรรเทาอาการปวดในขณะที่คุณฟื้นตัว…

รู้จักการคลอดก่อนกำหนด

สิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับ “การคลอดก่อนกำหนด”

by

สิ่งที่ต้องรู้เกี่ยวกับ “การคลอดก่อนกำหนด” ทราบไหมคะว่าสาเหตุอันดับต้น ๆ ที่ทารกแรกเกิดต้องเข้ารับการรักษาในหน่วยดูแลทารกแรกเกิดวิกฤตคือ “การคลอดก่อนกำหนด” นั่นเองค่ะ ซึ่งก็มีสาเหตุมาจากปัจจัยหลายประการด้วยกัน และเนื่องในวันนี้เป็นวันคลอดก่อนกำหนดโลก Motherhood เลยจะพาคุณเจาะลึกไปกับประเด็นนี้กันนะคะ ภาพรวม การคลอดก่อนกำหนดคือการคลอดที่เกิดขึ้นก่อน 3 สัปดาห์ก่อนวันครบกำหนดโดยประมาณของทารก กล่าวอีกนัยหนึ่ง การคลอดก่อนกำหนดเกิดขึ้นก่อนเริ่มสัปดาห์ที่ 37 ของการตั้งครรภ์ ทารกที่คลอดก่อนกำหนด โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่คลอดก่อนกำหนดนานมาก มักมีปัญหาทางการแพทย์ที่ซับซ้อน โดยปกติ ภาวะแทรกซ้อนของการคลอดก่อนกำหนดจะแตกต่างกันไป…