สุขภาพ

การข้ามเพศของเด็กข้ามเพศ

พ่อแม่ควรรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับ “การข้ามเพศ” ของเด็กและวัยรุ่น

by

พ่อแม่ควรรู้อะไรบ้างเกี่ยวกับ “การข้ามเพศ” ของเด็กและวัยรุ่น แม้ว่าการเรียกร้องสมรมเท่าเทียมของ LGBTIQA+ จะเป็นกระแสมากในเดือน Pride นี้ แต่ก็ต้องยอมรับว่า “การข้ามเพศ” และคนข้ามเพศยังไม่เป็นที่เข้าใจในสังคมสักเท่าไรนัก Motherhood จึงได้นำเอาแนวทางทางการแพทย์จากทั้งแพทย์และผู้เชี่ยวชาญ และได้รวบรวมคำตอบสำหรับคำถามที่พบบ่อยบางข้อเกี่ยวกับเด็กและคนหนุ่มสาวข้ามเพศเอาไว้ในบทความนี้ การทำความเข้าใจชุมชนคนข้ามเพศ การเป็นคนข้ามเพศหมายความว่าอย่างไร ? คนข้ามเพศ (Transgender) เป็นคำที่อยู่ใต้ร่ม (Umbrella term) สำหรับทุกคนที่เพศไม่สอดคล้องกับเพศที่ได้ถูกกำหนดให้ตั้งแต่แรกเกิด คนตรงเพศ…

ลูกเป็นคนเพศกำกวม

นี่คือสิ่งที่ต้องรู้กับการมีลูกเป็น “คนเพศกำกวม”

by

นี่คือสิ่งที่ต้องรู้กับการมีลูกเป็น “คนเพศกำกวม” อาจเป็นเรื่องน่ากลัวสำหรับพ่อแม่มือใหม่ที่จะได้ยินสิ่งที่ไม่คาดคิดจากแพทย์เมื่อลูกเกิด แต่ลักษณะทางเพศเกิดขึ้นตามธรรมชาติ และไม่ใช่โรคหรือภาวะที่ส่งผลต่อสุขภาพร่างกายของทารก เมื่อทารกเกิดมา พวกเขาจะถูกกำหนดเพศทางชีววิทยา ไม่ว่าจะเป็นชายหรือหญิง โดยพิจารณาจากอวัยวะเพศของพวกเขา คุณอาจได้รู้ถึงเพศของทารกก่อนคลอดในลักษณะเดียวกัน ถ้าไม่มีอะไรโผล่มาที่ระหว่างขา ‘ยินดีด้วย คุณได้ลูกสาวจ้า’ แต่จริง ๆ แล้วมันอาจจะซับซ้อนกว่านั้นเล็กน้อย บางครั้ง ทารกอาจมีอวัยวะเพศที่มีลักษณะเฉพาะของเพศชายและลักษณะเฉพาะของเพศหญิง และลึกกว่ารูปลักษณ์ภายนอก บางคนเกิดมาพร้อมกับลักษณะทางชีววิทยาของเพศชายและเพศหญิง (เช่น มดลูกและอัณฑะ) ที่ไม่สามารถมองเห็นได้จากภายนอก เมื่อบุคคลไม่ตรงกับการกำหนดเพศ…

ช่องคลอดเปลี่ยนไปตอนท้อง

7 สิ่งที่ไม่น่าเชื่อว่า “ช่องคลอดเปลี่ยนไป” ระหว่างตั้งครรภ์

by

7 สิ่งที่ไม่น่าเชื่อว่า “ช่องคลอดเปลี่ยนไป” ระหว่างตั้งครรภ์ ตั้งแต่การเปลี่ยนสีไปจนถึงเส้นเลือดขอด การตั้งครรภ์จะเปลี่ยนแปลงร่างกายของคุณไปมากมาย ผู้หญิงหลายคนพบว่า “ช่องคลอดเปลี่ยนไป” เช่นกัน และนี่คือสิ่งที่น่าแปลกใจ 7 ประการที่อาจเกิดขึ้นกับช่องคลอดของคุณในระหว่างตั้งครรภ์ การตั้งครรภ์เปลี่ยนแปลงร่างกายของคุณ นั่นเป็นข้อเท็จจริง ตั้งแต่ท้องที่โตขึ้นไปจนถึงขนาดรองเท้าที่เพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ มีการเปลี่ยนแปลงหลายอย่างที่สามารถเกิดขึ้นได้ แต่คุณรู้หรือไม่ว่าช่องคลอดของคุณสามารถเปลี่ยนแปลงได้ในระหว่างตั้งครรภ์ด้วย ? การตั้งครรภ์สามารถเปลี่ยนช่องคลอดของคุณให้เป็นสีฟ้าได้ ช่องคลอดของคุณเปลี่ยนสีในระหว่างตั้งครรภ์หรือไม่ ? คำตอบคือใช่ ช่องคลอดของคุณอาจมีสีฟ้าหรือสีม่วงในระหว่างตั้งครรภ์…

โรค APS ในแม่ท้อง

หากแม่ท้องเป็น “โรค APS” ก็เสี่ยงแท้งลูกได้

by

หากแม่ท้องเป็น “โรค APS” ก็เสี่ยงแท้งลูกได้ การดูแลสุขภาพของแม่ตั้งครรภ์คือเรื่องที่จำเป็นมาก เพราะหมายความว่าสุขภาพของทารกในครรภ์จะดีตามไปด้วย แต่หากคุณเกิดเป็น “โรค APS” ขึ้นมา เท่ากับว่าความเสี่ยงในการสูญเสียทารกไปก็มีเพิ่มขึ้น แล้วเราจะป้องกันไม่ให้เกิดได้หรือไม่ หรือหากเกิดขึ้นแล้วจริง ๆ เราสามารถรักษาไม่ให้อาการมันบานปลายได้หรือเปล่า วันนี้ Motherhood จะแนะนำให้ทุกคนรู้จักกับโรคนี้กันให้มากขึ้นค่ะ โรค APS คืออะไร ? Antiphospholipid Antibody…

ประเภทของอึลูก

เรียนรู้ “อึลูก” ทั้ง 12 แบบ และความหมายของมัน

by

เรียนรู้ “อึลูก” ทั้ง 12 แบบ และความหมายของมัน อาจไม่มีช่วงเวลาอื่นใดอีกแล้วในชีวิตที่คุณจะหมกมุ่นอยู่กับ “อึลูก” มากไปกว่าตอนที่คุณเป็นพ่อแม่มือใหม่ พ่อแม่มือใหม่มักใช้เวลาดู พูดคุย และทำความสะอาดอุจจาระเป็นจำนวนมาก นั่นเป็นเพราะว่าทารกจะอึโดยเฉลี่ยวันละ 2-3 สามครั้งในปีแรกของชีวิต นั่นก็ปาเข้าไปเกือบ 1,000 ครั้งแล้ว ต่อไปนี้คือข้อมูลเกี่ยวกับอึของทารกทั้ง 12 ชนิดและความหมายของพวกมัน 1. ขี้เทา นี่เป็นอึแบบแรกที่ลูกของคุณจะมี…

เคล็ดลับดูแลผิวของลูกน้อย

7 เคล็ดลับที่มีประสิทธิภาพและมีประโยชน์ในการ “ดูแลผิวของลูกน้อย” ให้แข็งแรง

by

7 เคล็ดลับที่มีประสิทธิภาพและมีประโยชน์ในการ “ดูแลผิวของลูกน้อย” ให้แข็งแรง ผิวของทารกบอบบาง ดังนั้น ในการ “ดูแลผิวของลูกน้อย” คุณจึงไม่สามารถใช้ผลิตภัณฑ์เดียวกันกับที่คุณใช้สำหรับตัวคุณเองได้ ผลิตภัณฑ์ที่คุณใช้สำหรับลูกน้อยควรปราศจากสารเคมี อ่อนโยนต่อผิว และเป็นธรรมชาติ ทารกโดยเฉพาะทารกแรกเกิดยังคงต้องปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่เลวร้าย ดังนั้น ผิวของพวกเขาจึงบอบบางเป็นพิเศษและตอบสนองต่อความรู้สึกไม่สบายแม้เพียงเล็กน้อยได้ง่าย ตัวอย่างเช่น พวกเขาสามารถพัฒนาผื่นหรือสิวจากสารระคายเคือง เช่น สบู่ แชมพู และผ้าอ้อม ดังนั้น จึงต้องมีการดูแลผิวเป็นพิเศษ เนื่องจากผิวของพวกเขาบอบบางและเปราะบางกว่ามาก…

ทำไมทารกกำหมัด

ทำไม “ทารกกำหมัด” ?

by

ทำไม “ทารกกำหมัด” ? การที่ “ทารกกำหมัด” แน่นเป็นเพียงหนึ่งในปฏิกิริยาตอบสนองของทารกแรกเกิดที่คุณจะสังเกตเห็นในช่วงสัปดาห์แรก ๆ หลังคลอด แต่การกำหมัดนี้เป็นปฏิกิริยาปกติของทารก ซึ่งเป็นหนึ่งในหลายการเคลื่อนไหวที่ช่วยพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กในอนาคตของทารก นี่เป็นข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับสาเหตุที่ลูกน้อยของคุณกำหมัดและพฤติกรรมอื่น ๆ ของทารกทั่วไปที่คุณอาจอยากสอดส่อง พฤติกรรมบางอย่างที่คาดหวังได้ในทารกแรกเกิดมีอะไรบ้าง ? ขณะที่ลูกน้อยของคุณเรียนรู้ที่จะปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมใหม่ของพวกเขาหลังคลอด คุณอาจประหลาดใจ (และถึงกับตกใจ) ว่าทารกของคุณเคลื่อนไหวอย่างไรในการตอบสนองต่อภาพ เสียง และการสัมผัส แต่พึงระลึกไว้เสมอว่าลูกน้อยของคุณกำลังประสบกับการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่จากสภาพแวดล้อมก่อนหน้านี้ในครรภ์ที่มืดและอบอุ่น – ดังนั้น…

อย่าทำเพื่อช่วยให้ลูกถ่าย

5 สิ่งที่คุณไม่ควรทำเพื่อ “ช่วยให้ลูกถ่าย”

by

5 สิ่งที่คุณไม่ควรทำเพื่อ “ช่วยให้ลูกถ่าย” ช่วง 2-3 เดือนแรกของทารกแรกเกิดอาจจะดูเหมือนเป็นวงจรง่าย ๆ ของการกิน การนอน และขับถ่าย แต่เมื่ออยู่ไปสักพัก คุณจะเป็นกังวลและต้องการ “ช่วยให้ลูกถ่าย” เพราะอาจเริ่มสังเกตเห็นการเคลื่อนไหวของลำไส้ที่ผิดปกติ และด้วยเหตุนี้ ด้วยความห่วงใย จึงลงเอยด้วยความผิดพลาดที่อาจก่อให้เกิดอันตรายมากกว่าผลดีต่อทารก ต่อไปนี้คือ 5 สิ่งที่คุณไม่ควรทำเพื่อทำให้ลูกอึ   1. คิดเอาเองว่าลำไส้ของทารกจะต้องทำงานเป็นปกติ ความผิดพลาดที่พบบ่อยที่สุดที่พ่อแม่ทำคือการทึกทักเอาว่าลูกของพวกเขาต้องถ่ายอุจจาระเป็นประจำเช่นเดียวกับผู้ใหญ่…

ดื่มเบียร์ล้างไขได้ไหม

“ดื่มเบียร์ล้างไข” อันตราย ไม่ควรทำ

by

“ดื่มเบียร์ล้างไข” อันตราย ไม่ควรทำ ความเชื่อบางอย่างก็ส่งต่อกันมาแบบหาต้นตอไม่ได้ โดยเฉพาะเรื่องสุขภาพ ล่าสุดมีกระแสว่า “ดื่มเบียร์ล้างไข” จะช่วยให้ทารกน้อยที่เพิ่งเกิดนั้นมีเนื้อตัวที่สะอาดเกลี้ยง ไม่มีไขสีขาวที่เหมือนน้ำมันมะพร้าวเย็นจับตัวกันอยู่บนผิวลูกน้อย ความเชื่อนี้ไม่ใช่เรื่องที่ถูกต้องเลยนะคะ มิหนำซ้ำยังส่งผลร้ายต่อลูกน้อยอีกด้วยค่ะ ไขบนตัวทารกมีไว้เพื่ออะไร ? การที่ร่างกายของทารกผลิตไขสีขาวหรือเหลืองอ่อนมาหุ้มตัวได้ จะต้องผ่านสัปดาห์ที่ 18 ไปแล้ว หน้าที่ของไขเหล่านี้คือช่วยปกป้องทารกระหว่างคลอด นอกจากนี้ยังช่วยในเรื่องของการให้ความอบอุ่น ควบคุมอุณหภูมิในร่างกายของทารก ในช่วงเวลาที่ต้องอยู่ในน้ำคร่ำอย่างยาวนานก่อนจะคลอดออกมา และถึงแม้ว่าจะคลอดออกมาแล้ว ไขนี้ก็ยังเป็นเกราะบาง ๆ…

23 พ.ค. วันแห่งการยุติปัญหาช่องทะลุทางสูติกรรม

23 พ.ค. วันแห่งการยุติปัญหาช่องทะลุทางสูติกรรม

by

23 พ.ค. วันแห่งการยุติปัญหาช่องทะลุทางสูติกรรม คนไทยเราอาจจะยังไม่คุ้นเคยเท่าไหร่นัก แต่ในวันที่ 23 พฤษภาคมของทุกปี ทางกองทุนประชากรแห่งสหประชาชาติประกาศให้เป็นวัน International Day to End Obsteric Fistula หรือ “วันแห่งการกำจัดปัญหาช่องทะลุทางสูติกรรม” ซึ่งเป็นผลจากการไม่มีอนามัยการเจริญพันธ์ที่ดี ปัญหาเกี่ยวกับช่องทะลุทางสูติกรรมนี้อาจไม่ได้เป็นปัญหาใหญ่ที่ประเทศไทย เนื่องจากประเทศเรามีอนามัยการเจริญพันธ์ที่ดีขึ้นและอัตราโรคแทรกซ้อนจากการตั้งครรภ์ต่ำลงมากเมื่อเทียบกับประเทศกำลังพัฒนาอีกหลายประเทศ แต่ในขณะนี้มีผู้หญิงและเด็กผู้หญิงจำนวนมากกว่า 2 ล้านคนในทั่วโลกที่ต้องเจ็บป่วยจากอาการนี้ เนื่องจากความยากจนและพวกเธอไม่สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุขที่ดีพอ Motherhood…